Effectiveness of home-based exercise program with self-manual therapy and therapeutic exercise in individuals with knee osteoarthritis in community
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 148 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Physical Therapy))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Kornkamon Cheawthamai Effectiveness of home-based exercise program with self-manual therapy and therapeutic exercise in individuals with knee osteoarthritis in community. Thesis (M.Sc. (Physical Therapy))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95116
Title
Effectiveness of home-based exercise program with self-manual therapy and therapeutic exercise in individuals with knee osteoarthritis in community
Alternative Title(s)
ประสิทธิภาพโปรแกรมการออกกำลังกายร่วมกับการรักษาด้วยมือเพื่อการรักษาแบบทำเองที่บ้านในผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมในชุมชน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study aimed to compare the effectiveness of the treatment programs of home-based exercise with and without self-manual therapy in individuals with knee osteoarthritis (OA). Forty three participants with knee OA were randomly assigned into groups. All participants received the same home-based exercise program with or without self-manual therapy over 12 weeks. Outcomes measured were pain intensity, ranges of motion, six-minute walk test distance, the Knee Injury and Osteoarthritis Outcome Score (KOOS), Short-Form 36 (SF-36), patient's satisfaction. The results showed that the self-manual therapy program significantly decreased pain at 4 weeks and increased active knee flexion and extension at 4 and 12 weeks. The home-based exercise group showed significantly increased six-minute walk distance at 4 and 12 weeks. Both groups showed significantly improved KOOS and SF-36 score. Overall, the findings of this study show that the combination of self-manual therapy and home-based exercise showed better benefits in decreasing pain and improving active knee ranges of motion while the home-based exercise program improved physical activity in patients with knee OA.
ภาวะข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ การรักษาด้วยมือร่วมกับการออกกำลังกายเป็นหนึ่งการรักษาที่ให้ผลที่ดีในการลดปวดและเพิ่มความยืดหยุ่นของข้อเข่า แต่การรักษาดังกล่าวมีข้อจำกัดสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการรักษาด้วยการออกกำลังกายที่บ้านโดยมีและไม่มีการรักษาด้วยมือแบบให้ทำเองในผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมในชุมชน ผู้ร่วมวิจัยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม 43 คนถูกสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดจะได้รับการสอนออกกำลังกายที่บ้านแบบเดียวกัน โดยมีและไม่มีการรักษาด้วยมือร่วมด้วยในระยะเวลา 12 สัปดาห์ ผลลัพธ์ได้แก่ ระดับความเจ็บปวด, องศาการเคลื่อนไหว, ระยะทางที่เดินได้ใน 6 นาที, แบบสอบถามความสามารถการใช้งานข้อเข่า (KOOS), แบบสอบถามคุณภาพชีวิต SF-36 และความพึงพอใจ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มที่มีการรักษาด้วยมือร่วมด้วยปวดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญใน 4 สัปดาห์, องศาการเคลื่อนไหวข้อเข่าเพิ่มขึ้นใน 4 และ 12 สัปดาห์ ในขณะที่กลุ่มที่ได้รับการออกกำลังกายอย่างเดียวเดิน 6 นาทีได้เพิ่มขึ้นใน 4 และ 12 สัปดาห์ และทั้ง 2 กลุ่มมีคะแนนการใช้งานข้อเข่าและคะแนนคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น ดังนั้นการออกกำลังกายที่บ้านอย่างเดียวมีผลเพิ่มความสามารถในชีวิตประจำวัน ในขณะที่การออกกำลังเองที่บ้านร่วมกับการรักษาด้วยมือแบบให้ทำเองสำหรับผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมีผลลดปวดและเพิ่มการเคลื่อนไหวข้อเข่าได้ดีกว่าชัดเจน
ภาวะข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ การรักษาด้วยมือร่วมกับการออกกำลังกายเป็นหนึ่งการรักษาที่ให้ผลที่ดีในการลดปวดและเพิ่มความยืดหยุ่นของข้อเข่า แต่การรักษาดังกล่าวมีข้อจำกัดสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการรักษาด้วยการออกกำลังกายที่บ้านโดยมีและไม่มีการรักษาด้วยมือแบบให้ทำเองในผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมในชุมชน ผู้ร่วมวิจัยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม 43 คนถูกสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดจะได้รับการสอนออกกำลังกายที่บ้านแบบเดียวกัน โดยมีและไม่มีการรักษาด้วยมือร่วมด้วยในระยะเวลา 12 สัปดาห์ ผลลัพธ์ได้แก่ ระดับความเจ็บปวด, องศาการเคลื่อนไหว, ระยะทางที่เดินได้ใน 6 นาที, แบบสอบถามความสามารถการใช้งานข้อเข่า (KOOS), แบบสอบถามคุณภาพชีวิต SF-36 และความพึงพอใจ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มที่มีการรักษาด้วยมือร่วมด้วยปวดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญใน 4 สัปดาห์, องศาการเคลื่อนไหวข้อเข่าเพิ่มขึ้นใน 4 และ 12 สัปดาห์ ในขณะที่กลุ่มที่ได้รับการออกกำลังกายอย่างเดียวเดิน 6 นาทีได้เพิ่มขึ้นใน 4 และ 12 สัปดาห์ และทั้ง 2 กลุ่มมีคะแนนการใช้งานข้อเข่าและคะแนนคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น ดังนั้นการออกกำลังกายที่บ้านอย่างเดียวมีผลเพิ่มความสามารถในชีวิตประจำวัน ในขณะที่การออกกำลังเองที่บ้านร่วมกับการรักษาด้วยมือแบบให้ทำเองสำหรับผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมีผลลดปวดและเพิ่มการเคลื่อนไหวข้อเข่าได้ดีกว่าชัดเจน
Description
Physical Therapy (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Physical Therapy
Degree Discipline
Physical Therapy
Degree Grantor(s)
Mahidol University