Integrated learning styles and prefered digital learning types approach for developing an online learning system for university students' SQL learning in a database management course
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 83 leaves : ill
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Jirapipat Thanyaphongphat Integrated learning styles and prefered digital learning types approach for developing an online learning system for university students' SQL learning in a database management course. Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91641
Title
Integrated learning styles and prefered digital learning types approach for developing an online learning system for university students' SQL learning in a database management course
Alternative Title(s)
การพัฒนาระบบการเรียนออนไลน์โดยบูรณาการรูปแบบการเรียนรู้รายบุคคลร่วมกับความชอบในสื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีในหัวข้อภาษาเอสคิวแอลที่ใช้เขียนโปรแกรมเพื่อจัดการฐานข้อมูล
Author(s)
Abstract
With the benefits of online learning environment, learning materials related to personalized information have been rapidly developed. However, the online learning support system, especially for learning Structured Query Language (SQL) in a database management system course, has been developed based only on single-source of personalization information. To cope with the drawback, this study proposed an innovative approach named a learning style-preferred technology type decision model, which combines two main sources of learning styles and digital learning type preference. The model was employed to develop an online SQL learning support system. Therefore, two empirical studies were conducted in this research. In the first study, 190 university students were recruited to validate the proposed model for recommending digital learning material to individual students. It led to the second study involving 90 university students to empirically evaluate the effectiveness of the decision model-based personalized learning support system in terms of SQL learning achievement, perceptions, and motivations. The results of the two-part experiments showed that (a) the decision model was able to recommend proper digital learning material to individual students based on their learning style and preferred digital learning type; (b) the learning achievement the students who followed the personalized learning material were significantly greater than of those who learned with the non-personalized learning material; and (c) the learning support system based on the proposed model could promote positive students' perceptions and positively motivate them to learn SQL. It is recommended that this developed system of the database management course should be implemented in all universities in Thailand.
จากประโยชน์ของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบออนไลน์ ทำให้การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับข้อมูลจำเพาะบุคคลได้รับการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามระบบการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยเฉพาะการเรียนรู้หัวข้อภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (SQL) ในรายวิชาระบบการจัดการฐานข้อมูลได้รับการพัฒนาโดยอาศัยข้อมูลแหล่งข้อมูลจำเพาะรายบุคคลเพียงแหล่งข้อมูลเดียว เพื่อแก้ไขข้อจำกัดดังกล่าวงานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนวทางใหม่ที่ชื่อว่า "แบบจำลองการตัดสินใจตามรูปแบบการเรียนรู้และความชอบในสื่อเทคโนโลยี" ซึ่งผสานสองแหล่งข้อมูลเข้าด้วยกัน คือ รูปแบบการเรียนรู้และความชอบในสื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัล แบบจำลองนี้ได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู้ SQL แบบออนไลน์ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงประกอบด้วย 2 การศึกษาย่อย ในการศึกษาแรกได้รับสมัครนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 190 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและแม่นยำของแบบจำลองฯ เพื่อแนะนำสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลที่เหมาะสำหรับผู้เรียนเป็นรายบุคคล ซึ่งนำไปสู่การศึกษาที่สอง ซึ่งมีนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 90 คนเข้าร่วมวิจัย เพื่อทำการประเมินประสิทธิภาพของแบบจำลองการตัดสินใจในระบบสนับสนุนการเรียนรู้รายบุคคลในประเด็นของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การรับรู้ และ แรงจูงใจเกี่ยวกับการเรียน SQL ผลการศึกษาทั้งสองส่วนแสดงให้เห็นว่า (ก) แบบจำลองการตัดสินใจสามารถแนะนำสื่อดิจิตอลที่เหมาะสมให้กับผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามรูปแบบการเรียนรู้ และความชอบในสื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัล (ข) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนตามสื่อที่จำเพาะบุคคลสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยที่ไม่ใช้สื่อจำเพาะบุคคล (ค) ระบบสนับสนุนการเรียนตามแบบจำลองที่นำเสนอส่งเสริมการรับรู้เชิงบวกของผู้เรียน และกระตุ้นความสนในด้านบวกต่อการเรียน SQL ควรนำระบบที่พัฒนาขึ้นในรายวิชาระบบการจัดการฐานข้อมูลไปใช้กับทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
จากประโยชน์ของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบออนไลน์ ทำให้การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับข้อมูลจำเพาะบุคคลได้รับการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามระบบการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยเฉพาะการเรียนรู้หัวข้อภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (SQL) ในรายวิชาระบบการจัดการฐานข้อมูลได้รับการพัฒนาโดยอาศัยข้อมูลแหล่งข้อมูลจำเพาะรายบุคคลเพียงแหล่งข้อมูลเดียว เพื่อแก้ไขข้อจำกัดดังกล่าวงานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนวทางใหม่ที่ชื่อว่า "แบบจำลองการตัดสินใจตามรูปแบบการเรียนรู้และความชอบในสื่อเทคโนโลยี" ซึ่งผสานสองแหล่งข้อมูลเข้าด้วยกัน คือ รูปแบบการเรียนรู้และความชอบในสื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัล แบบจำลองนี้ได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู้ SQL แบบออนไลน์ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงประกอบด้วย 2 การศึกษาย่อย ในการศึกษาแรกได้รับสมัครนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 190 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและแม่นยำของแบบจำลองฯ เพื่อแนะนำสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลที่เหมาะสำหรับผู้เรียนเป็นรายบุคคล ซึ่งนำไปสู่การศึกษาที่สอง ซึ่งมีนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 90 คนเข้าร่วมวิจัย เพื่อทำการประเมินประสิทธิภาพของแบบจำลองการตัดสินใจในระบบสนับสนุนการเรียนรู้รายบุคคลในประเด็นของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การรับรู้ และ แรงจูงใจเกี่ยวกับการเรียน SQL ผลการศึกษาทั้งสองส่วนแสดงให้เห็นว่า (ก) แบบจำลองการตัดสินใจสามารถแนะนำสื่อดิจิตอลที่เหมาะสมให้กับผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามรูปแบบการเรียนรู้ และความชอบในสื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัล (ข) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนตามสื่อที่จำเพาะบุคคลสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยที่ไม่ใช้สื่อจำเพาะบุคคล (ค) ระบบสนับสนุนการเรียนตามแบบจำลองที่นำเสนอส่งเสริมการรับรู้เชิงบวกของผู้เรียน และกระตุ้นความสนในด้านบวกต่อการเรียน SQL ควรนำระบบที่พัฒนาขึ้นในรายวิชาระบบการจัดการฐานข้อมูลไปใช้กับทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
Description
Science and Technology Education (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. Institute for Innovative Learning
Degree Discipline
Science and Technology Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University