Model development of seamless health service system for multidisciplinary in health area
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 166 leaves ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Somrak Sirikhetkon Model development of seamless health service system for multidisciplinary in health area. Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92246
Title
Model development of seamless health service system for multidisciplinary in health area
Alternative Title(s)
รูปแบบการพัฒนาสุขภาพแบบไร้รอยต่อของเครือข่ายวิชาชีพในเขตสุขภาพ
Author(s)
Abstract
This research aimed 1) to study the development of health service system quality in the present cardiovascular health area, 2) to study supporting factors and analyze problems or obstacles of development the quality of health service system, and 3) to propose a model for improving the quality of the seamless health service system for multidisciplinary in health area. The model development consisted of 4 processes, namely, study of relevant data and documents, in-depth interviews, group discussions, and professional networking teams. This research led to a new service system design to assess the appropriateness of the model used by experts or practitioners in the public health profession. The data were analyzed both quantitatively and qualitatively. The results showed that the new model of health service system development was the 3 C Acts: 3 I Support model, including Commitment Approach, Collaborative Care for the Care System, Care System, Integration, Information to improve, Innovation and Continuing Care for best results including efficiency, quality and security to target. The new model was brought to the trial area, and the conclusion of new health service system development showed improvement of care for patients with cardiovascular disease. It is suggested to develop more coaching system, use of information program, Rehabilitation Services after surgery and a cardiovascular disease preparation course in the professional field in order to increase the capacity of the network to be more effective.
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ ในเขตสุขภาพ ประเด็นโรคหัวใจและหลอดเลือดในปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุน วิเคราะห์ปัญหา/ อุปสรรคของการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ 3. เพื่อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อของเครือข่ายวิชาชีพในเขตสุขภาพประเด็นโรคหัวใจและหลอดเลือด มี 4 กระบวนการ คือ ศึกษาข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง, สัมภาษณ์เชิงลึก, ประชุมสนทนากลุ่มทีมเครือข่ายวิชาชีพ และออกแบบระบบบริการใหม่ และ ประเมินความเหมาะสมในการนำไปใช้ วิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพแบบใหม่ คือ 3 C Act : 3 I Support model ประกอบด้วยการสร้างข้อตกลง (Commitment Approach), ทำงานร่วมกัน (Collaborative) ในการจัดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมาย (Care System) โดยมีการบูรณาการเชื่อมต่อการทำงานร่วมกันทั้งแนวดิ่งและแนวราบ (Integration) ใช้ข้อมูลปัญหาในพื้นที่มาวิเคราะห์ (Information) เพื่อพัฒนาปรับปรุง สร้างนวัตกรรม (Innovation) การดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ทั้งประสิทธิภาพ,คุณภาพ และความปลอดภัยแก่กลุ่มเป้าหมาย และควรพัฒนาเพิ่มเติมเรื่องระบบพี่เลี้ยง การใช้โปรแกรมข้อมูลสารสนเทศ ระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพหลังการรักษา หลังการผ่าตัด และจัดทำหลักสูตรเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด ในสาขาวิชาชีพต่างๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพของเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ ในเขตสุขภาพ ประเด็นโรคหัวใจและหลอดเลือดในปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุน วิเคราะห์ปัญหา/ อุปสรรคของการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ 3. เพื่อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อของเครือข่ายวิชาชีพในเขตสุขภาพประเด็นโรคหัวใจและหลอดเลือด มี 4 กระบวนการ คือ ศึกษาข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง, สัมภาษณ์เชิงลึก, ประชุมสนทนากลุ่มทีมเครือข่ายวิชาชีพ และออกแบบระบบบริการใหม่ และ ประเมินความเหมาะสมในการนำไปใช้ วิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพแบบใหม่ คือ 3 C Act : 3 I Support model ประกอบด้วยการสร้างข้อตกลง (Commitment Approach), ทำงานร่วมกัน (Collaborative) ในการจัดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมาย (Care System) โดยมีการบูรณาการเชื่อมต่อการทำงานร่วมกันทั้งแนวดิ่งและแนวราบ (Integration) ใช้ข้อมูลปัญหาในพื้นที่มาวิเคราะห์ (Information) เพื่อพัฒนาปรับปรุง สร้างนวัตกรรม (Innovation) การดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ทั้งประสิทธิภาพ,คุณภาพ และความปลอดภัยแก่กลุ่มเป้าหมาย และควรพัฒนาเพิ่มเติมเรื่องระบบพี่เลี้ยง การใช้โปรแกรมข้อมูลสารสนเทศ ระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพหลังการรักษา หลังการผ่าตัด และจัดทำหลักสูตรเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด ในสาขาวิชาชีพต่างๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพของเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Description
Public Policy and Public Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Public Administration
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Public Policy and Public Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University