Preliminary survey and experimental studies of mesocyclops spp. as biological control agents of dengue vectors in a rural Thai community
Issued Date
2024
Copyright Date
1994
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
iv, 142 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 1994
Suggested Citation
Siriporn Vihokto Preliminary survey and experimental studies of mesocyclops spp. as biological control agents of dengue vectors in a rural Thai community. Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 1994. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100868
Title
Preliminary survey and experimental studies of mesocyclops spp. as biological control agents of dengue vectors in a rural Thai community
Alternative Title(s)
การสำรวจและการศึกษาทดลองใช้ไรน้ำเพื่อเป็นตัวควบคุมทางชีวภาพของพาหะนำเชื้อไข้เลือดออกในเขตชนบทของเมืองไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
During preliminary survey of copepods, it was found that copepods were present and could survive in artificial containers everywhere in the village. They accidentally came from artesian wells. The density of copepods in each type of containers depended on the availability of food sources and the frequency of copepods reintroduction from their natural sources. In natural condition, copepods did not seem to exhibit the potential for Aedes larval control because the density was not high enough. Up to 83% of water containers where copepod density was more than 40 per container, the copepods could eliminate Aedes larvae. The most common copepod species (>90%) found in this study was Mesocyclops aspericornis which could kill 99.25% to 100% of Aedes larvae up to the ratio of 1:4 (25 copepod: 100 larvae) in the laboratory. They were reared by using modified food formula and culture technique. In culture medium that supplemented food was added, they grew up to 200 folds from one gravid female within two weeks. The nauplius stage could survive with bacterial film in the medium. In the field experiment, M. aspericornis in indoor vases could rapidly reproduce during the 2nd to the 5th weeks after introduction, if there were enough food (protozoa, Aedes larvae). Then they would decline until stable during the 12th to the 14th weeks and could eliminate both Aedes aegypti and Aedes albopictus larvae. Mesocyclops aspericornis in outdoor vases could not survive after inoculation or reintroduction. There are many factors affecting their survival in outdoor such as heat from sunlight, heavy rainfall, etc. Mesocyclops aspericornis will be effective in controlling Aedes larvae outdoors if they are in big containers and have enough food.
จากการสำรวจที่หมู่บ้านแหลมหิน (ม.8) ต.หัวสำโรง อ.แปลงยาวจ.ฉะเชิงเทราพบไรน้ำ (Copepods) ในภาชนะ เก็บกักน้ำตามบ้านเรือนที่อยู่อาศัยเกือบทุกชนิดไรน้ำ เหล่านี้ติดมากับน้ำที่ตักจากบ่อบาดาลซึ่งมีอยู่เกือบ ทุกบ้านจำนวนของไรน้ำในภาชนะแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน ออกไปขึ้นกับปริมาณอาหารในภาชนะและความถี่ในการเติม น้ำลงในภาชนะเหล่านี้ไรน้ำที่พบในภาขนะเก็บกักน้ำ ไม่สามารถควบคุมลูกน้ำยุงลายได้ตามธรรมชาติเพราะจำนวน ของไรน้ำไม่มากพอแต่จากการสำรวจพบว่า 83% ของภาชนะ ที่มีไรน้ำมากกว่า40ตัวต่อภาชนะจะไม่พบลูกน้ำยุงลาย ตัวอย่างของไรน้ำที่เก็บมายังห้องทดลอง 90% เป็น Mesocyclops aspericornis Mesocyclops aspericornis ที่ได้จากการสำรวจมี ประสิทธิภาพในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย (Aedes aegypti) ในห้องทดลองโดยสามารถกำจัดลูกน้ำยุงลายระยะที่ 1 และ 2 ได้ 99.25% ถึง 100% ในอัตราส่วน 1:4 (ไรน้ำ 25 ตัวต่อ ลูกน้ำยุงลาย 100 ตัว) หลังจากนำไรน้ำไปเลี้ยงด้วยอาหาร และวิธีการที่ดัแปลงเพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ใน ชุมชน (ใช้อาหารปลาและอาหารสุนัขเป็นอาหารเสริมร่วมกับ โปรโตซัวและสาหร่าย) ไรน้ำเติบโตได้อย่างรวดเร็วและ เพิ่มจำนวนได้ 100 ถึง 200 เท่า (โดยเริ่มจากไรน้ำ1ตัว) ภายใน2สัปดาห์ไรน้ำสามารถขยายพันธุ์และเจริญเติบโต ได้ทั้งในอาหารที่มีและไม่มีสาหร่ายโดยไรน้ำในระยะต้นจะ อาศัยแผ่นฝ้าที่บริเวณผิวน้ำที่เกิดจากแบคทีเรียเป็นอาหาร เมื่อนำไรน้ำไปทดลองควบคุมยุงลายในท้องที่ โดยนำไรน้ำใส่ในแจกันพลูด่างแล้วแขวนไว้ในบ้านกับนอกบ้าน พบว่าไรน้ำสามารถกำจัดลูกน้ำยุงลายได้ดี(100%)ถ้ามี จำนวนมากพอ (>30ตัวต่อแจกัน) ไรน้ำในแจกันที่แขวนไว้ ในบ้านสามารถแพร่และขยายพันธุ์ได้ในช่วงระยะเวลา2ถึง 5สัปดาห์จากนั้นจำนวนไรน้ำจะเริ่มลดลงจนคงที่ในสัปดาห์ ที่ 12 ถึง 14 ถ้ามีอาหารเพียงพอ (โปรโตซัวและลูกน้ำยุง) แต่ไรน้ำในแจกันที่อยู่นอกบ้านไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้ เพราะแจกันอยู่กลางแดดเกือบทั้งวันทำให้น้ำร้อนมากจนไรน้ำ ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้และในบางครั้งน้ำในแจกันจะถูก แทนที่ด้วยน้ำผนในวันที่ผนตกหนักทำให้สูญเสียไรน้ำจำนวน หนึ่งไปกับน้ำฝนการใช้ไรน้ำควบคุมลูกน้ำยุงลายในแจกัน จึงได้ผลดีในแจกันที่อยู่ในบ้านแต่ไม่ได้ผลในแจกันที่ อยู่นอกบ้านเนื่องจากไรน้ำไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้มากพอ ที่จะเป็นตัวควบคุมทางชีวภาพได้
จากการสำรวจที่หมู่บ้านแหลมหิน (ม.8) ต.หัวสำโรง อ.แปลงยาวจ.ฉะเชิงเทราพบไรน้ำ (Copepods) ในภาชนะ เก็บกักน้ำตามบ้านเรือนที่อยู่อาศัยเกือบทุกชนิดไรน้ำ เหล่านี้ติดมากับน้ำที่ตักจากบ่อบาดาลซึ่งมีอยู่เกือบ ทุกบ้านจำนวนของไรน้ำในภาชนะแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน ออกไปขึ้นกับปริมาณอาหารในภาชนะและความถี่ในการเติม น้ำลงในภาชนะเหล่านี้ไรน้ำที่พบในภาขนะเก็บกักน้ำ ไม่สามารถควบคุมลูกน้ำยุงลายได้ตามธรรมชาติเพราะจำนวน ของไรน้ำไม่มากพอแต่จากการสำรวจพบว่า 83% ของภาชนะ ที่มีไรน้ำมากกว่า40ตัวต่อภาชนะจะไม่พบลูกน้ำยุงลาย ตัวอย่างของไรน้ำที่เก็บมายังห้องทดลอง 90% เป็น Mesocyclops aspericornis Mesocyclops aspericornis ที่ได้จากการสำรวจมี ประสิทธิภาพในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย (Aedes aegypti) ในห้องทดลองโดยสามารถกำจัดลูกน้ำยุงลายระยะที่ 1 และ 2 ได้ 99.25% ถึง 100% ในอัตราส่วน 1:4 (ไรน้ำ 25 ตัวต่อ ลูกน้ำยุงลาย 100 ตัว) หลังจากนำไรน้ำไปเลี้ยงด้วยอาหาร และวิธีการที่ดัแปลงเพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ใน ชุมชน (ใช้อาหารปลาและอาหารสุนัขเป็นอาหารเสริมร่วมกับ โปรโตซัวและสาหร่าย) ไรน้ำเติบโตได้อย่างรวดเร็วและ เพิ่มจำนวนได้ 100 ถึง 200 เท่า (โดยเริ่มจากไรน้ำ1ตัว) ภายใน2สัปดาห์ไรน้ำสามารถขยายพันธุ์และเจริญเติบโต ได้ทั้งในอาหารที่มีและไม่มีสาหร่ายโดยไรน้ำในระยะต้นจะ อาศัยแผ่นฝ้าที่บริเวณผิวน้ำที่เกิดจากแบคทีเรียเป็นอาหาร เมื่อนำไรน้ำไปทดลองควบคุมยุงลายในท้องที่ โดยนำไรน้ำใส่ในแจกันพลูด่างแล้วแขวนไว้ในบ้านกับนอกบ้าน พบว่าไรน้ำสามารถกำจัดลูกน้ำยุงลายได้ดี(100%)ถ้ามี จำนวนมากพอ (>30ตัวต่อแจกัน) ไรน้ำในแจกันที่แขวนไว้ ในบ้านสามารถแพร่และขยายพันธุ์ได้ในช่วงระยะเวลา2ถึง 5สัปดาห์จากนั้นจำนวนไรน้ำจะเริ่มลดลงจนคงที่ในสัปดาห์ ที่ 12 ถึง 14 ถ้ามีอาหารเพียงพอ (โปรโตซัวและลูกน้ำยุง) แต่ไรน้ำในแจกันที่อยู่นอกบ้านไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้ เพราะแจกันอยู่กลางแดดเกือบทั้งวันทำให้น้ำร้อนมากจนไรน้ำ ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้และในบางครั้งน้ำในแจกันจะถูก แทนที่ด้วยน้ำผนในวันที่ผนตกหนักทำให้สูญเสียไรน้ำจำนวน หนึ่งไปกับน้ำฝนการใช้ไรน้ำควบคุมลูกน้ำยุงลายในแจกัน จึงได้ผลดีในแจกันที่อยู่ในบ้านแต่ไม่ได้ผลในแจกันที่ อยู่นอกบ้านเนื่องจากไรน้ำไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้มากพอ ที่จะเป็นตัวควบคุมทางชีวภาพได้
Description
Environmental Biology (Mahidol University 1994)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Environmental Biology
Degree Grantor(s)
Mahidol University