การสร้างแบบฝึกเรื่องจังหวะสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ตามแนวทางออร์ฟและโคดาย
Issued Date
2561
Copyright Date
2561
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฎ, 147 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
Suggested Citation
ศุภฤกษ์ หงอสกุล การสร้างแบบฝึกเรื่องจังหวะสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ตามแนวทางออร์ฟและโคดาย. สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92705
Title
การสร้างแบบฝึกเรื่องจังหวะสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ตามแนวทางออร์ฟและโคดาย
Alternative Title(s)
Rhythmic exercises for secondary level students at Banbahoi School, Sabayoi, Songkhla : according to the guidelines of Orff and Kodaly
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์แนวคิดและวิธีการสอนของออร์ฟและ โคดายที่เกี่ยวกับจังหวะ 2) เพื่อสร้างแบบฝึกเรื่องจังหวะให้กับนักเรียนในระดับช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านบาโหย อาเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา และหาค่าความเชื่อมั่นของแบบฝึกที่สร้างขึ้น โดยแนวคิดและวิธีการสอนของออร์ฟและโคดายผู้วิจัยได้ศึกษาจากหนังสือของอาจารย์ธวัชชัย นาควงษ์ ในส่วนของแบบฝึกหลังจากสร้างเสร็จ ผู้วิจัยได้ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านจังหวะ 4 ท่านและผู้เชี่ยวชาญทางด้านดนตรีออร์ฟและโคดายอย่างละ 1 ท่าน ประเมินเพื่อหาค่า IOC ผลการทำวิจัยพบว่าการสอนดนตรีตามแนวทางของออร์ฟจะให้ความสำคัญกับเรื่องจังหวะเป็นอย่างมาก โดยจะเน้นเรื่องดนตรีเบื้องต้นซึ่งประกอบด้วยเพลง การพูด และการเคลื่อนไหวร่างกาย เป้าหมายการเรียนดนตรีตามแนวทางทางออร์ฟคือเมื่อเด็กได้ยินจังหวะหรือทำนองต่างๆ สามารถคิดทำนองหรือจังหวะ ในรูปแบบใหม่ขึ้นมาได้ ส่วนการสอนดนตรีตามแนวทางโคดายจะเน้นการร้องเป็นหลัก ในเรื่องจังหวะโคดายมีการใช้รูปภาพแทนจังหวะ การใช้สัญลักษณ์ก้านโน้ต และคำอ่านของจังหวะในการอ่านโน้ต ในส่วนค่าความเชื่อมั่นของแบบฝึกทั้งหมด 90 ข้อ อยู่ในระดับ 0.50 - 1.00 ทั้งหมด ซึ่งถือว่า นำไปใช้ในการสอนจริงได้
This research aimed at 1) analyzing the teaching concepts and methods of Orff and Kodaly relating to rhythms, and 2) creating rhythm exercises for secondary level students of Banbahoi School, Sabayoi District, Songkhla Province. The Researcher studied the teaching concepts and methods of Orff and Kodaly from the textbook of Dr. Thawatchai Nakwong, and regarding the Rhythm Exercise after the complete creation, the Researcher had 4 rhythm experts and 1 Orff and 1 Kodaly music experts evaluate and calculate IOC value. According to the research result, it was found that the Orff-based music teaching would give the significant importance on rhythms and would emphasize introductions to music consisting of songs, speaking and body movement. The goal of the Orff-based music learning was that when children heard rhythms or melodies, they would be able to create new patterns of rhythms or melodies while the Kodaly-based music teaching would mainly emphasize the signing, In Kodaly rhythms, pictures would be used to represent rhythms, and stems of music notes and rhythm readings would be used in the note reading, and the Index of Confidence (IOC) of all 90 items of the exercise was at 0.50-1.00, which could be applied to the practical teaching.
This research aimed at 1) analyzing the teaching concepts and methods of Orff and Kodaly relating to rhythms, and 2) creating rhythm exercises for secondary level students of Banbahoi School, Sabayoi District, Songkhla Province. The Researcher studied the teaching concepts and methods of Orff and Kodaly from the textbook of Dr. Thawatchai Nakwong, and regarding the Rhythm Exercise after the complete creation, the Researcher had 4 rhythm experts and 1 Orff and 1 Kodaly music experts evaluate and calculate IOC value. According to the research result, it was found that the Orff-based music teaching would give the significant importance on rhythms and would emphasize introductions to music consisting of songs, speaking and body movement. The goal of the Orff-based music learning was that when children heard rhythms or melodies, they would be able to create new patterns of rhythms or melodies while the Kodaly-based music teaching would mainly emphasize the signing, In Kodaly rhythms, pictures would be used to represent rhythms, and stems of music notes and rhythm readings would be used in the note reading, and the Index of Confidence (IOC) of all 90 items of the exercise was at 0.50-1.00, which could be applied to the practical teaching.
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล