Process of documentation and preservation of an endangered language : a case study of Moken on Surin Islands

dc.contributor.advisorSuwilai Premsrirat
dc.contributor.advisorSiripen Ungsitipoonporn
dc.contributor.advisorMayuree Thawornpat
dc.contributor.authorSarawut Kraisame
dc.date.accessioned2023-09-11T03:57:22Z
dc.date.available2023-09-11T03:57:22Z
dc.date.copyright2016
dc.date.created2016
dc.date.issued2023
dc.description.abstractThe ultimate goal of this research is language documentation and language preservation in the Moken community. Thus, the primary objective of this research is to identify and develop a process of collaboration between the linguist and the Moken community members to document and preserve their language and local knowledge. This research got very good collaboration from various stakeholders, both inside and outside the community, who were concerned with Moken language and knowledge preservation: the language revitalization program facilitators, Moken native speakers, the ethnic film maker, the teacher in Moken community learning center and the community primary-health center officer. From my grounded-theoretical fieldwork, the research suggested that the collaborative approach on language documentation and preservation had five stages to pass through: 1) partnership building, 2) Moken orthography development, 3) technology preparation and Native Speakers' capacity building, 4) data gathering and eliciting, and 5) implementation and mobilization. From the effective collaboration of all partners, the native researchers documented over 90 Moken place names with 27-minute VDO and ecological knowledge around Surin Islands with a 20-minute VDO. Moreover, 20 folktales, 36 songs and 4 daily life conversations were documented. Selected data were implemented in activities for community language preservation, mobilization and publication. This research provides the collaborative method between linguists and native community members in language documentation and preservation work sustainability. In addition, all fieldwork data that meet international archival standards could be used and applied to both linguistic studies and arranging education for ethnic minority or indigenous students.
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนากระบวนการในการเก็บบันทึกข้อมูลและ อนุรักษ์ภาษาในภาวะวิกฤตในประเทศไทย โดยมุ่งหวังให้กระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการในการทำงานร่วมกันระหว่างนักภาษาศาสตร์และชุมชนเจ้าของภาษาในการบันทึกและอนุรักษ์ภาษาและองค์ความรู้ท้องถิ่น งานวิจัยนี้ได้รับ ความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เล็งเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ภาษาและความรู้ท้องถิ่นของชาวมอแกนทั้งในและนอกชุมชนดังนี้ 1) พี่เลี้ยงนักวิจัยเจ้าของภาษา ศูนย์ศึกษาฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต 2) ผู้พูดภาษามอแกน 3) นักสารคดีชาติพันธุ์ 4) ครูประจำศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวมอแกนหมู่เกาะสุรินทร์ และ 5) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขชุมชน ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน ชุมชนชาวมอแกนหมู่เกาะสุรินทร์ จากการวิจัยภาคสนามเชิงคุณภาพแบบทฤษฎีพื้นฐานพบว่า กระบวนการทำงานร่วมกันในการเก็บ บันทึกข้อมูลและอนุรักษ์ภาษาประกอบด้วย 5 ขั้นดังต่อไปนี้ 1) การสร้างหุ้นส่วนในการทำงาน 2) การพัฒนาระบบตัวเขียน 3) การเสริมสร้าง-พัฒนาศักยภาพเจ้าของภาษาและการเตรียมการทางด้านเทคโนโลยี 4) การเก็บข้อมูล และ 5) การนำ ไปใช้ประโยชน์และการผลิตสื่อ นอกจากนี้ งานวิจัยยังพบว่ากระบวนการดังกล่าวจะประสพความสาเร็จต้องอาศัยการมีส่วนร่วมและความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตั้งแต่ต้นของโครงการ อีกทั้งการเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับเจ้าของภาษาในการร่วมคิด วางแผน และตัดสินใจตลอดกระบวนการถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อความสำเร็จประสิทธิผลจากกระบวนการทำงานที่ได้มีการพัฒนาขึ้นมาในวิทยาพนธ์นี้ทำให้สามารถเก็บรวบรวมความรู้และภาษามอแกนในรูปแบบวีดีโอและข้อมูลเสียงได้ดังนี้ 1) ภูมินามภาษามอแกนรอบเกาะสุรินทร์จำนวนกว่า 90 จุด ความยาว 27 นาที 2) องค์ความรู้ทางด้านนิเวศวิทยารอบเกาะสุรินทร์ของชาวมอแกนความยาว 20 นาที 3) เพลงมอแกนจำนวน 36 เพลง 4) นิทานและเรื่องเล่าจำนวน 20 เรื่อง และ 5) บทสนทนาในชีวิตประจำวันจำนวน 4 เรื่อง การวิจัยนี้นำ ไปสู่รูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างนักวิชาการและชุมชนเจ้าของภาษาเพื่อสร้างความยั่งยืนในการบันทึกข้อมูลและอนุรักษ์ภาษา อีกทั้งคุณภาพข้อมูลที่เป็นไปตามมาตรฐานของคลังข้อมูลทางภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อการศึกษาต่าง ๆ ทางด้านภาษาศาสตร์และการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์
dc.format.extentxvi, 218 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2016
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89726
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectLinguistics -- Documentation
dc.subjectMoken (Southeast Asian people) -- Thailand -- Surin Islands
dc.subjectEndangered languages -- Thailand
dc.subjectLanguage revival
dc.subjectLanguage maintenance
dc.titleProcess of documentation and preservation of an endangered language : a case study of Moken on Surin Islands
dc.title.alternativeกระบวนการเก็บบันทึกข้อมูลและอนุรักษ์ภาษาในภาวะวิกฤต : กรณีศึกษาภาษามอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์
dcterms.accessRightsrestricted access
mu.link.internalLinkhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd520/5336570.pdf
thesis.degree.departmentResearch Institute for Languages and Cultures of Asia
thesis.degree.disciplineLinguistics
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections