ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาหนึ่งกลุ่มโรงพยาบาลภาคเอกชนไทย
Issued Date
2556
Copyright Date
2556
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 154 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
กนกวรรณ เมธะพันธุ์ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาหนึ่งกลุ่มโรงพยาบาลภาคเอกชนไทย. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92944
Title
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาหนึ่งกลุ่มโรงพยาบาลภาคเอกชนไทย
Alternative Title(s)
Factors associated with perceived safety culture in personnel : a case study of a private hospital group in Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหนึ่งกลุ่มโรงพยาบาลภาคเอกชนไทย กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภาคเอกชนไทยหนึ่งกลุ่ม ที่ปฏิบัติงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 304 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2556 ถึงวันที่ 12 กรกฎาคม 2556 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา สถิติไคสแควร์ และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุโลจิสติก ผลการวิจัยพบว่าระดับการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลการโดยรวมอยู่ในระดับสูง ปัจจัยอายุ ระยะเวลาปฏิบัติงาน หน่วยงาน ตำแหน่ง และมิติความปลอดภัยของผู้ป่วยด้านความคาดหวังต่อหนัวหน้างาน/ผู้จัดการในการดำเนินงานเกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย ด้านการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้หรือการพัฒนอย่างต่อเนื่อง ด้านการทำงานเป็นทีมภายในหน่วยงาน ด้านการจัดคนทำงาน ด้านการส่งต่องานและการเปลี่ยนผ่านของโรงพยาบาล ด้านการสื่อสารที่เปิดกว้าง ด้านการสื่อสารและการรับข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับควมผิดพลั้ง ด้านการทำงานเป็นทีมระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาลมีความสัมพันธ์กับการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัย ได้แก่ ปัจจัยความปลอดภัยของผู้ป่วยด้านความคาดหวังที่มีต่อหัวหน้างาน/ผู้จัดการในการดำเนินงานเกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย และปัจจัยความปลอดภัยของผู้ป่วยด้านการส่งต่องานและการเปลี่ยนผ่านของโรงพยาบาล โดยอธิบายความผันแปรได้ร้อยละ 16 (P< 0.05) การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดีในโรงพยาบาล ผู้บริหารควรมีการจัดแนวทางการปฏิบัติด้านความปลดภัย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เน้นการแก้ปัญหาเชิงระบบมากกว่าการตำหนิหรือลงโทษผู้กระทำผิด เพื่อสร้างแรงจูงใจ ขวัญและกำลังใจให้บุคลการตระหนักถึงความปลอดภัย
Is research was a cross-sectional study with the objective of studying factors associated with the safety culture of personnel working in a private hospital group in Thailand. The studied sample were 304 personnel who had more than one year of working experience in the hospitals. Information was collected by using questionnaires from 12th June to 12th July, 2013. The information was analysed by using descriptive statistics, chi-square and binary logistic regression. The study found that the level of overall perceived safety culture of personnel working in a private hospital group was high. The following factors: age, working duration, working unit, position, patient safety with regard to of Supervisor/Manager Expectations and Actions Promoting Patient Safety, Organizational Continuous Movement, Teamwork Within Units, Staffing, Handoffs and Transitions, Communication Openness, Feedback & Communication About Error and Teamwork Across Units in the hospital had association with safety culture with statistical significance (P < 0.05). The factors which had association with perceived safety culture, and could explain their variance by 16 percent (P < 0.05), were patient safety with regard to of Supervisor/Manager Expectations and Actions Promoting Patient Safety and Hand off and Transition. In order to build the safety culture in hospitals, management should enforce guidelines for working safely and sharing knowledge and experience among colleagues about problem solving rather than blaming or punishing personnel for their low motivation and morale
Is research was a cross-sectional study with the objective of studying factors associated with the safety culture of personnel working in a private hospital group in Thailand. The studied sample were 304 personnel who had more than one year of working experience in the hospitals. Information was collected by using questionnaires from 12th June to 12th July, 2013. The information was analysed by using descriptive statistics, chi-square and binary logistic regression. The study found that the level of overall perceived safety culture of personnel working in a private hospital group was high. The following factors: age, working duration, working unit, position, patient safety with regard to of Supervisor/Manager Expectations and Actions Promoting Patient Safety, Organizational Continuous Movement, Teamwork Within Units, Staffing, Handoffs and Transitions, Communication Openness, Feedback & Communication About Error and Teamwork Across Units in the hospital had association with safety culture with statistical significance (P < 0.05). The factors which had association with perceived safety culture, and could explain their variance by 16 percent (P < 0.05), were patient safety with regard to of Supervisor/Manager Expectations and Actions Promoting Patient Safety and Hand off and Transition. In order to build the safety culture in hospitals, management should enforce guidelines for working safely and sharing knowledge and experience among colleagues about problem solving rather than blaming or punishing personnel for their low motivation and morale
Description
บริหารสาธารณสุข (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
บริหารสาธารณสุข
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล