The effect of the parent training program along with the life skills training program on the life skills of the fifth graders
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 209 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Jeeraporn Kummabutr The effect of the parent training program along with the life skills training program on the life skills of the fifth graders. Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89427
Title
The effect of the parent training program along with the life skills training program on the life skills of the fifth graders
Alternative Title(s)
ผลของโปรแกรมอบรมพ่อแม่เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในเด็กวัยเรียนร่วมกับโปรแกรมอบรมทักษะชีวิตในเด็กวัยเรียนต่อทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Author(s)
Abstract
This quasi-experimental study aimed at examining the effect of a parent training program along with a life skills training program on parenting skills, parents' cognition, and school-age children's life skills. A school was purposively selected and then two classes of the 5th grade were randomly assigned into two groups. Twenty-six students and their parents were in the experimental group and 27 students and their parents were in the comparison group. All met the inclusion criteria and consented to participate in the study. All students were recruited into the life skills training program, while only parents in the experimental group were recruited into the parent training program. Those programs were developed based on the theory of planned behavior and interactive group techniques. Instruments for data collection included a life skills questionnaire for the children and a child life skills development questionnaire for parents. Data were collected from all participants prior to the interventions and at the first week, the first month, and the third month after the intervention. Analysis of covariance (ANCOVA) and repeated measures ANOVA were used to test the effect of the parent training program. The results demonstrated no effect of the parent training program on child life skills, parents' attitude, or subjective norm, whereas positive effects were seen on parenting skills (ES=1.22), parenting self-efficacy (ES=0.65), and parents' intention (ES=0.46). These findings suggest that this intervention may need a longer duration for improving child life skills. Recommendations for further research include a larger sample size and longer time for measurement, which would contribute to more comprehensive study outcomes.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมอบรมพ่อแม่เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับโปรแกรมอบรมทักษะชีวิตต่อทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทักษะพ่อแม่ และการรับรู้ต่อการพัฒนาทักษะชีวิตในบุตรวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างเฉพาะ เจาะจง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พร้อมทั้งพ่อแม่ที่มีคุณสมบัติตรงกับปัจจัยการคัดเข้าและยินยอมเข้าร่วมโปรแกรมถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองซึ่งประกอบด้วยนักเรียน 26 คนและพ่อแม่ และกลุ่มเปรียบเทียบ 27 คนและพ่อแม่ นักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม ได้รับการอบรมทักษะชีวิตในขณะที่เฉพาะกลุ่มพ่อแม่ในกลุ่มทดลองเท่านั้นที่ได้รับการอบรมพ่อแม่เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในบุตรวัยเรียน โปรแกรมทั้งสองดังกล่าวถูกสร้างขึ้นบนกรอบแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน การศึกษาครั้งนี้ทำการเก็บข้อมูล ก่อนได้รับโปรแกรมและภายหลังโปรแกรมสิ้นสุดแล้วที่ 1 สัปดาห์ 1 เดือน และ 3 เดือน และการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ผลของโปรแกรมด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ความแปรแปรนทางเดียวและสองทางแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังสิ้นสุดการทดลอง คะแนนทักษะชีวิตในนักเรียนทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ในขณะที่คะแนนทักษะพ่อแม่ (ES=1.22) ความสามารถของพ่อแม่ (ES=0.65) และความตั้งใจในการพัฒนาทักษะชีวิตในบุตรวัยเรียนของพ่อแม่ (ES=0.46) ในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อภายหลังโปรแกรมสิ้นสุดแล้ว 3 เดือน จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตที่ศึกษานี้ อาจต้องการเวลาที่ยาวนานขึ้นในการปรับพัฒนาทักษะชีวิตในเด็กวัยนี้ ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไปคือการใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่มากขึ้นและใช้การวัดผลในระยะยาว
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมอบรมพ่อแม่เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับโปรแกรมอบรมทักษะชีวิตต่อทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทักษะพ่อแม่ และการรับรู้ต่อการพัฒนาทักษะชีวิตในบุตรวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างเฉพาะ เจาะจง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พร้อมทั้งพ่อแม่ที่มีคุณสมบัติตรงกับปัจจัยการคัดเข้าและยินยอมเข้าร่วมโปรแกรมถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองซึ่งประกอบด้วยนักเรียน 26 คนและพ่อแม่ และกลุ่มเปรียบเทียบ 27 คนและพ่อแม่ นักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม ได้รับการอบรมทักษะชีวิตในขณะที่เฉพาะกลุ่มพ่อแม่ในกลุ่มทดลองเท่านั้นที่ได้รับการอบรมพ่อแม่เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในบุตรวัยเรียน โปรแกรมทั้งสองดังกล่าวถูกสร้างขึ้นบนกรอบแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน การศึกษาครั้งนี้ทำการเก็บข้อมูล ก่อนได้รับโปรแกรมและภายหลังโปรแกรมสิ้นสุดแล้วที่ 1 สัปดาห์ 1 เดือน และ 3 เดือน และการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ผลของโปรแกรมด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ความแปรแปรนทางเดียวและสองทางแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังสิ้นสุดการทดลอง คะแนนทักษะชีวิตในนักเรียนทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ในขณะที่คะแนนทักษะพ่อแม่ (ES=1.22) ความสามารถของพ่อแม่ (ES=0.65) และความตั้งใจในการพัฒนาทักษะชีวิตในบุตรวัยเรียนของพ่อแม่ (ES=0.46) ในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อภายหลังโปรแกรมสิ้นสุดแล้ว 3 เดือน จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตที่ศึกษานี้ อาจต้องการเวลาที่ยาวนานขึ้นในการปรับพัฒนาทักษะชีวิตในเด็กวัยนี้ ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไปคือการใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่มากขึ้นและใช้การวัดผลในระยะยาว
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Nursing
Degree Discipline
Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University