The impact of learning experiences based on EF guideline on children's executive function skills : a case study of a school in Tak province
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 93 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Chatchanan Arsan The impact of learning experiences based on EF guideline on children's executive function skills : a case study of a school in Tak province. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91705
Title
The impact of learning experiences based on EF guideline on children's executive function skills : a case study of a school in Tak province
Alternative Title(s)
ผลของการจัดประสบการณ์ตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารต่อทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดตาก
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purpose of this study was to investigate the impacts of the learning experiences based on EF Guideline on children's EF skills. EF Guideline was a research-based best practice tool developed to help early childhood teachers plan effective learning experiences to promote children's executive function (EF). The sample was 56 children at 5-6 years old who studied in kindergarten level 3, semester 1, academic year 2017 at a school in Tak Province, Thailand. The sample was divided into 2 groups using purposive sampling. The sample group included 28 children whose teachers planned and implemented learning experiences based on the EF Guideline. The control group included 28 children whose teachers planned and implemented learning experiences based on their own experiences. A paired t-test was utilized to investigate the significant differences in pretest to post-test mean scores on EF skills within group. A series of multivariate analysis of co-variance (MANCOVA) was performed to examine the significant differences in posttest mean scores on EF skills between the children in the sample and control groups as measured by MU.EF-101. The results showed that there were significant differences in pretest to posttest mean scores on EF skills of the children in the sample group (p<0.001). There also were significant differences in posttest mean scores on EF skills between the children in the sample and control groups (p<0.001). The children's EF skills in the sample group significantly had higher posttest mean scores on all components of EF skills when comparing to their own pretest mean scores and the mean scores of the children in the control group. The results indicated that the learning experiences based on EF Guideline have positive impact on children's EF skills. It is suggested that a similar future research is to be conducted with children of different age, in area another, and environment.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์ตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารต่อทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย แนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารคือ เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นจากฐานแนวคิดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิจัยที่ศึกษาวิธีการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยครูปฐมวัยในการวางแผนการจัดประสบการณ์ในการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กอายุ 5 ถึง 6 ปี จำนวน 56 คน ที่ศึกษาอยู่ระดับชั้นอนุบาลศึกษาชั้นปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ณ โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดตาก งานวิจัยนี้ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง (n=28) และกลุ่มควบคุม (n=28) โดยกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองจะได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากครูที่ใช้เครื่องมือแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารในการวางแผนจัดประสบการณ์ และกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มควบคุมจะได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากครูที่วางแผนการจัดประสบการณ์ตามประสบการณ์ของตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดเชิงบริหารก่อนและหลังการทดลองภายในกลุ่ม คือ a paired t-test และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดเชิงบริหารในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม คือ MANCOVA โดยใช้แบบประเมิน MU.EF-101 ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดบริหารก่อนและหลังการทดลองในเด็กกลุ่มทดลองมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.001 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงบริหาร นอกจากนี้ยังพบว่า คะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดบริหารหลังการทดลองในเด็กกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.001 โดยเด็กในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงบริหารเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของเด็กในกลุ่มควบคุม ในส่วนท้ายของรายงานการวิจัยนี้จะนำเสนอการอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะจะกล่าวถึงในส่วนของการอภิปรายผล
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์ตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารต่อทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย แนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารคือ เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นจากฐานแนวคิดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิจัยที่ศึกษาวิธีการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยครูปฐมวัยในการวางแผนการจัดประสบการณ์ในการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กอายุ 5 ถึง 6 ปี จำนวน 56 คน ที่ศึกษาอยู่ระดับชั้นอนุบาลศึกษาชั้นปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ณ โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดตาก งานวิจัยนี้ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง (n=28) และกลุ่มควบคุม (n=28) โดยกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองจะได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากครูที่ใช้เครื่องมือแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารในการวางแผนจัดประสบการณ์ และกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มควบคุมจะได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากครูที่วางแผนการจัดประสบการณ์ตามประสบการณ์ของตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดเชิงบริหารก่อนและหลังการทดลองภายในกลุ่ม คือ a paired t-test และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดเชิงบริหารในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม คือ MANCOVA โดยใช้แบบประเมิน MU.EF-101 ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดบริหารก่อนและหลังการทดลองในเด็กกลุ่มทดลองมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.001 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงบริหาร นอกจากนี้ยังพบว่า คะแนนเฉลี่ยของทักษะการคิดบริหารหลังการทดลองในเด็กกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.001 โดยเด็กในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงบริหารเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของเด็กในกลุ่มควบคุม ในส่วนท้ายของรายงานการวิจัยนี้จะนำเสนอการอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะจะกล่าวถึงในส่วนของการอภิปรายผล
Description
Human Development (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University