Does sports bra limit respiratory function during constant speed exercise?
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 66 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Kunanya Masodsai Does sports bra limit respiratory function during constant speed exercise?. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95281
Title
Does sports bra limit respiratory function during constant speed exercise?
Alternative Title(s)
เสื้อชั้นในกีฬาจะจำกัดการทำงานของระบบหายใจในระหว่างการออกกำลังกายที่ความเร็วคงที่หรือไม่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The present study aimed to investigate the effect of a sports bra on respiratory function at rest and during exercise. Sixteen healthy females voluntarily and repeatedly participated in three randomized trials using no bra (NB), casual bra (CB) and sports bra (SB). They were tested using standard resting spirometer protocol. Static lung volumes included tidal volume (VT), inspiratory capacity (IC), vital capacity (VC), inspiratory reserve volume (IRV), expiratory reserve volume (ERV), respiratory rate (RR), minute ventilation (V̇ E); and dynamic lung volumes included forced expiratory volume in 1 second (FEV1.0), forced vital capacity (FVC), forced expiratory volume in 1 second and forced vital capacity ratio (%FEV1.0/FVC), maximum voluntary ventilation (MVV) and peak expiratory flow rate (PEFR) before and immediately after putting on bras. Exercise was conducted on a motor-driven treadmill at a constant speed of 4 mph continuously until the heart rate reached 60, 70, and 80% of age-predicted maximal heart rate (MHR). Only some of these lung parameters were detected during exercise. Data were compared at rest, 60, 70, and 80% MHR and every min of the 5 min recovery period. The results showed that FEV1.0, FVC, and MVV were significantly decreased (p<0.05) when compared between pre- and immediate post- SB condition. During exercise, there were no significant differences of respiratory functions between bra conditions at 60, 70, and 80%MHR. In conclusion, the sports bra exhibited reductions only for dynamic components of lung function. This effect disappeared as exercise was commenced. There was no limitation on respiratory function of either static or dynamic components during exercise. The present study indicates that this brand (Wacoal,WR1466) of commercial sports bra does not limit respiratory functions during exercise and may be appropriate for females with an active lifestyle.
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์คือ เพื่อศึกษาผลของการสวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาต่อการทำงานของ ระบบหายใจทั้งในขณะพักและขณะออกกำลังกาย อาสาสมัครเพศหญิงที่มีสุขภาพดีจำนวน 16 คน เข้าร่วมการ ทดสอบแบบสุ่มจำนวน3 ครั้งโดยมีการสวมใส่เสื้อสั้นใน 3 แบบได้แก่เสื้อชั้นในที่สวมใส่เป็นประจำ เสื้อชั้นใน กีฬาและไม่สวมใส่เสื้อชั้นใน เริ่มทำการทดสอบสมรรถภาพปอดก่อนและหลังการสวมใส่เสื้อชั้นในทันทีตัวแปร ประกอยด้วยปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าออกปกติ (VT), ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าทั้งหมด (IC), ความจุปอดสูงสุด (VC), ปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าสำรอง(IRV), ปริมาตรอากาศที่หายใจออกสำรอง(ERV), อัตราการหายใจ (RR), การระบายอากาศในเวลา 1 นาที (V̇E), ปริมาตรของอากาศที่ถูกขับออกในวินาทีแรกของการหายใจออก อย่างเร็วและแรงเต็มที่ (FEV1.0), ปริมาตรสูงสุดของอากาศที่หายใจออกอย่างเร็วและแรงเต็มที่ (FVC), อัตราส่วน ของปริมาตรอากาศที่ถูกขับออกในวินาทีแรกของการหายใจออกอย่างเร็วและแรงเต็มที่ (%FEV1.0/FVC), ปริมาตร อากาศไหลเวียนสูงสุดในเวลา 1 นาที (MVV) และอัตราการหายใจออกที่สูงที่สุด (PEFR) จากนั้นเริ่มการออก กำลังกายโดยการวิ่งบนลู่กลที่ความเร็ว 4 ไมล์ต่อชั่วโมงจนกระทั่งอัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นถึง 60, 70 และ 80% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด(MHR) ตามเกณฑ์อายุแสดงผลข้อมูลขณะพัก, ที่ความหนัก 60, 70 และ 80% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด(MHR) รวมไปถึงทุกนาทีของระยะพักฟื้นเป็นเวลา 5 นาที ผลการศึกษาแสดงให้เห็น ว่าจากตัวแปรปริมาตรปอดทั้งหมด มีเพียง FEV1.0, FVC และ MVV ที่มีการลดลงอย่างมีนัยสำคัญที่ p<0.05 เมื่อ เปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการสวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของตัวแปร สมรรถภาพปอด (RR, VTและ V̇E) ระหว่างการออกกำลังกายในทุกๆ ความหนัก ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาครั้ง นี้ว่าการสวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาในระหว่างการออกกำลังกายไม่จำกัดการทำงานของระบบหายใจพบเพียงผล ทันทีทันใดของเสื้อชั้นในกีฬาที่ทำให้สมรรถภาพปอดลดลง อย่างไรก็ตาม ผลดังกล่าวไม่ปรากฏเมื่อเริ่มออกกำลังกาย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์คือ เพื่อศึกษาผลของการสวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาต่อการทำงานของ ระบบหายใจทั้งในขณะพักและขณะออกกำลังกาย อาสาสมัครเพศหญิงที่มีสุขภาพดีจำนวน 16 คน เข้าร่วมการ ทดสอบแบบสุ่มจำนวน3 ครั้งโดยมีการสวมใส่เสื้อสั้นใน 3 แบบได้แก่เสื้อชั้นในที่สวมใส่เป็นประจำ เสื้อชั้นใน กีฬาและไม่สวมใส่เสื้อชั้นใน เริ่มทำการทดสอบสมรรถภาพปอดก่อนและหลังการสวมใส่เสื้อชั้นในทันทีตัวแปร ประกอยด้วยปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าออกปกติ (VT), ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าทั้งหมด (IC), ความจุปอดสูงสุด (VC), ปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าสำรอง(IRV), ปริมาตรอากาศที่หายใจออกสำรอง(ERV), อัตราการหายใจ (RR), การระบายอากาศในเวลา 1 นาที (V̇E), ปริมาตรของอากาศที่ถูกขับออกในวินาทีแรกของการหายใจออก อย่างเร็วและแรงเต็มที่ (FEV1.0), ปริมาตรสูงสุดของอากาศที่หายใจออกอย่างเร็วและแรงเต็มที่ (FVC), อัตราส่วน ของปริมาตรอากาศที่ถูกขับออกในวินาทีแรกของการหายใจออกอย่างเร็วและแรงเต็มที่ (%FEV1.0/FVC), ปริมาตร อากาศไหลเวียนสูงสุดในเวลา 1 นาที (MVV) และอัตราการหายใจออกที่สูงที่สุด (PEFR) จากนั้นเริ่มการออก กำลังกายโดยการวิ่งบนลู่กลที่ความเร็ว 4 ไมล์ต่อชั่วโมงจนกระทั่งอัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นถึง 60, 70 และ 80% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด(MHR) ตามเกณฑ์อายุแสดงผลข้อมูลขณะพัก, ที่ความหนัก 60, 70 และ 80% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด(MHR) รวมไปถึงทุกนาทีของระยะพักฟื้นเป็นเวลา 5 นาที ผลการศึกษาแสดงให้เห็น ว่าจากตัวแปรปริมาตรปอดทั้งหมด มีเพียง FEV1.0, FVC และ MVV ที่มีการลดลงอย่างมีนัยสำคัญที่ p<0.05 เมื่อ เปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการสวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของตัวแปร สมรรถภาพปอด (RR, VTและ V̇E) ระหว่างการออกกำลังกายในทุกๆ ความหนัก ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาครั้ง นี้ว่าการสวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาในระหว่างการออกกำลังกายไม่จำกัดการทำงานของระบบหายใจพบเพียงผล ทันทีทันใดของเสื้อชั้นในกีฬาที่ทำให้สมรรถภาพปอดลดลง อย่างไรก็ตาม ผลดังกล่าวไม่ปรากฏเมื่อเริ่มออกกำลังกาย
Description
Sports Science (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University