The marginality of oral health promotion and prevention : learning through life and work of dental auxiliaries
Issued Date
2023
Copyright Date
2014
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 184 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Thanida Pothidee The marginality of oral health promotion and prevention : learning through life and work of dental auxiliaries. Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89758
Title
The marginality of oral health promotion and prevention : learning through life and work of dental auxiliaries
Alternative Title(s)
สถานะชายขอบของงานส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพ : บทเรียนผ่านชีวิตและการทำงานของทันตาภิบาล
Author(s)
Abstract
The purpose of this thesis was to study the situation of oral health promotion and prevention through studying the role, experience, and work life of dental personnel; in particular, the dental auxiliaries who are defined as the main mechanism of oral health promotion and prevention. The methods for data collection were interviews and entering into the world of dental personnel by ethnographic techniques for nine months. This study attempts to understand the meanings and values of oral health promotion and prevention through dental personnel working in the provincial health office, hospitals, and sub-district health promotion hospitals in a small province of Central Thailand. The study suggests that oral health promotion and prevention as the work life is endowed with negative values and meanings. It did not reflect the dental professional identity. The social meaning of work in oral health promotion and prevention could be viewed as a marginality. Dental personnel think that oral health promotion and prevention uses not only less knowledge and less potential but also a loss of dental professional identity. Moreover, the employee earned lower income than those doing treatment work. Therefore, the responsibilities of this work were assigned to the dental auxiliaries as the para medical personnel. However, the dental auxiliary group began less power and authority but more responsibility in their work, and they became the only group of dental personnel who were left out by the governmental system regarding advancement and security in their careers. They also lacked support and had no rights to participate in thinking and decision making regarding work-related issues. The ineffectiveness of oral health promotion and prevention were a reflection the marginality of oral health promotion and prevention in the public health system. This study sheds light on the fact that the performance of oral health promotion and prevention are complex health problems that require a paradigm shift in understanding in order to solve the problem.
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจถึงสถานะของงานส่งเสริมและป้องกันด้านทันต สาธารณสุขผ่านการศึกษาบทบาทในการทำงาน ประสบการณ์ และชีวิตของทันตบุคลากรโดยเฉพาะในกลุ่มทัน ตาภิบาลซึ่งถูกวางให้เป็นกลไกสำคัญในการทำงานเหล่านี้ โดยการศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบชาติพันธุ์วรรณนาใน กลุ่มตัวอย่างที่เป็นทันตบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ในพื้นที่จังหวัดขนาดเล็กแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง โดยมีระยะเวลาในการศึกษานาน 9 เดือน ผลการศึกษาพบว่า ทันตบุคลากรทั้งทันตแพทย์และทันตาภิบาลต่างให้ความหมายและคุณค่ากับ งานด้านการส่งเสริมและป้องกันทันตสาธารณสุขไปในเชิงลบว่าเป็นงานที่ใช้ความรู้และความสามารถในการ ทำงานน้อย ไม่แสดงถึงศักยภาพ ไม่ทำให้เกิดตัวตนในสายตาของประชาชน และเป็นงานที่ทำรายได้น้อยเมื่อ เปรียบเทียบกับงานด้านการรักษา ทำให้ทันตบุคลากรต่างให้ความสำคัญกับการทำงานในด้านนี้น้อย บทบาทและ หน้าจึงตกไปเป็นของทันตาภิบาลซึ่งเป็นบุคลากรในสายสนับสนุน แต่อย่างไรก็ตามทันตาภิบาลกลับเป็นกลุ่มที่มี อำนาจในการทำงานน้อย เป็นบุคลากรที่ถูกระบบราชการทอดทิ้งให้ไม่มีความก้าวหน้าและความมั่นคง ขาดแคลน ทรัพยากรต่างๆ และไม่มีสิทธิ์ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจในการทำงาน ซึ่งลักษณะเหล่านี้ส่งผลให้ทันตาภิบาลตกอยู่ใน สถานะของคนชายขอบ รับรู้ถึงอำนาจในการทำงานของตนเองที่ต่ำ ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ขาดขวัญและ กำลังใจในการทำงาน สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่าการที่งานด้านการส่งเสริมและป้องกันทันตสาธารณสุขต้องตก อยู่ในสถานะที่เป็นชายขอบของระบบสาธารณสุขเป็นผลมาจากกระบวนทัศน์แบบชีวการแพทย์ที่เป็นรากฐานที่ สำคัญ แนวคิดแบบผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงวิธีคิดในเรื่องของระบบทุนที่ให้คุณค่ากับงานด้านการรักษาและโอกาสทาง เศรษฐกิจทำให้กลไกด้านกองทุนทันตกรรมที่เกิดขึ้นไม่สามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจถึงสถานะของงานส่งเสริมและป้องกันด้านทันต สาธารณสุขผ่านการศึกษาบทบาทในการทำงาน ประสบการณ์ และชีวิตของทันตบุคลากรโดยเฉพาะในกลุ่มทัน ตาภิบาลซึ่งถูกวางให้เป็นกลไกสำคัญในการทำงานเหล่านี้ โดยการศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบชาติพันธุ์วรรณนาใน กลุ่มตัวอย่างที่เป็นทันตบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ในพื้นที่จังหวัดขนาดเล็กแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง โดยมีระยะเวลาในการศึกษานาน 9 เดือน ผลการศึกษาพบว่า ทันตบุคลากรทั้งทันตแพทย์และทันตาภิบาลต่างให้ความหมายและคุณค่ากับ งานด้านการส่งเสริมและป้องกันทันตสาธารณสุขไปในเชิงลบว่าเป็นงานที่ใช้ความรู้และความสามารถในการ ทำงานน้อย ไม่แสดงถึงศักยภาพ ไม่ทำให้เกิดตัวตนในสายตาของประชาชน และเป็นงานที่ทำรายได้น้อยเมื่อ เปรียบเทียบกับงานด้านการรักษา ทำให้ทันตบุคลากรต่างให้ความสำคัญกับการทำงานในด้านนี้น้อย บทบาทและ หน้าจึงตกไปเป็นของทันตาภิบาลซึ่งเป็นบุคลากรในสายสนับสนุน แต่อย่างไรก็ตามทันตาภิบาลกลับเป็นกลุ่มที่มี อำนาจในการทำงานน้อย เป็นบุคลากรที่ถูกระบบราชการทอดทิ้งให้ไม่มีความก้าวหน้าและความมั่นคง ขาดแคลน ทรัพยากรต่างๆ และไม่มีสิทธิ์ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจในการทำงาน ซึ่งลักษณะเหล่านี้ส่งผลให้ทันตาภิบาลตกอยู่ใน สถานะของคนชายขอบ รับรู้ถึงอำนาจในการทำงานของตนเองที่ต่ำ ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ขาดขวัญและ กำลังใจในการทำงาน สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่าการที่งานด้านการส่งเสริมและป้องกันทันตสาธารณสุขต้องตก อยู่ในสถานะที่เป็นชายขอบของระบบสาธารณสุขเป็นผลมาจากกระบวนทัศน์แบบชีวการแพทย์ที่เป็นรากฐานที่ สำคัญ แนวคิดแบบผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงวิธีคิดในเรื่องของระบบทุนที่ให้คุณค่ากับงานด้านการรักษาและโอกาสทาง เศรษฐกิจทำให้กลไกด้านกองทุนทันตกรรมที่เกิดขึ้นไม่สามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Medical and Health Social Sciences
Degree Grantor(s)
Mahidol University