A comparison of reliability in measuring spinal curvature
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 43 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Apichaya Kiartubolpaiboon A comparison of reliability in measuring spinal curvature. Thesis (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95274
Title
A comparison of reliability in measuring spinal curvature
Alternative Title(s)
การเปรียบเทียบความน่าเชื่อถือในการวัดมุมความโค้งของกระดูกสันหลัง
Author(s)
Abstract
The purpose in this study is to assess intra-rater and inter-rater reliability of 3 methods for measuring spinal curvature in 30 anteroposterior radiograph 2D views (AP view) with spinal patients of Lerdsin hospital during the years 2004 to 2011. Three methods i.e. Cobb, Ferguson and Polynomial are compared with each value in terms of reliability. Ferguson is the traditional method and Cobb is probably the most popular, while polynomial is one of the first documented mathematical models for sagittal spinal curvature. Intraclass correlation coefficient (ICC) is used to calculate the inter-rater reliability (ICC model 2, 1) and intra-rater reliability (ICC model 3, 1). The statistical analysis shows that the intra-rater reliabilities of Ferguson, Cobb and Polynomial are 0.968, 0.950 and 0.910, respectively. Regarding similarity, their inter-rater reliabilities are 0.477, 0.659 and 0.407 respectively. The statistical analysis of the sample paired t-test was used to test the difference of the angles by measuring spinal curvature, showed that the difference between intra-rater and inter-rater Ferguson and Polynomial the mean was not statistically significant (p>0.05). In addition, we found significant differences between intra-rater and inter-rater in other methods where the mean is statistically significant (p<0.05). The results indicate that the most reliable measurement of spinal curvature is the Ferguson method. It can be used to assess the measurement with some special cautions. However, the most reliable measurement of spinal curvature is the Cobb method, when using between examiners
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าความน่าเชื่อถือของวิธีการวัดมุมความโค้ง กระดูกสันหลังสามวิธี คือวิธีการวัดแบบเฟอร์กูสัน, คอบบ์ และ พหุนาม ซึ่งวิธีการวัดแบบเฟอร์กูสันเป็น วิธีการวัดที่เก่าแก่ที่สุด ส่วนวิธีการวัดแบบคอบบ์เป็นวิธีการวัดที่มีความนิยมสูงสุดและวิธีการวัดแบบพหุนาม เป็นหนึ่งในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์แรกที่ถูกเสนอในการวัดมุมความโค้งกระดูกสันหลัง โดยศึกษาวิธีการวัดมุมความโค้งกระดูกสันหลังจากภาพฉายรังสี 2 มิติ กระดูกสันหลังด้านหน้าในผู้ป่วยโรค กระดูกสันหลังโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 30 ภาพ ทำการวัดโดยนักวิจัยที่ได้รับการอบรมการกำหนดจุด ขอบกระดูกสันหลังจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน โดยสถิติที่นำมาใช้ คือการเปรียบเทียบค่าความ น่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมินใช้แบบจำลอง ICC (3,1) และ ความน่าเชื่อถือในระหว่างผู้ประเมินใช้ แบบจำลอง ICC (2,1) จากผลการศึกษาพบว่า ค่าความน่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมินของวิธีการวัดแบบ เฟอร์กูสัน, คอบบ์ และ พหุนาม เท่ากับ 0.924, 0.933 และ 0.515 ตามลำดับ ส่วนค่าความน่าเชื่อถือในระหว่างผู้ ประเมินของวิธีการวัดแบบ เฟอร์กูสัน, คอบบ์ และ พหุนาม เท่ากับ 0.797, 0.805 และ 0.526 ตามลำดับ วิธีการวัดแบบเฟอร์กูสัน และ พหุนาม ของตัวผู้ประเมิน และ ระหว่างผู้ประเมินนั้นไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญ (p>0.05) และ พบว่าวิธีการวัดแบบคอบบ์แตกต่างจากวิธีการวัดแบบเฟอร์กูสัน และ พหุนาม ของตัวผู้ประเมิน และ ระหว่างผู้ประเมินอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่าวิธีการวัดมุมความ โค้งของกระดูกสันหลังที่มีค่าความน่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมิน และ ระหว่างผู้ประเมินมากที่สุดคือ วิธีการ วัดมุมความโค้งกระดูกสันหลังแบบคอบบ์โดยมีความน่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมินมากกว่าระหว่างผู้ประเมิน ควรใช้วิธีการวัดมุมความโค้งกระดูกสันหลังแบบคอบบ์ในการวัดของตัวผู้ประเมินจะให้ผลลัพธ์ที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าความน่าเชื่อถือของวิธีการวัดมุมความโค้ง กระดูกสันหลังสามวิธี คือวิธีการวัดแบบเฟอร์กูสัน, คอบบ์ และ พหุนาม ซึ่งวิธีการวัดแบบเฟอร์กูสันเป็น วิธีการวัดที่เก่าแก่ที่สุด ส่วนวิธีการวัดแบบคอบบ์เป็นวิธีการวัดที่มีความนิยมสูงสุดและวิธีการวัดแบบพหุนาม เป็นหนึ่งในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์แรกที่ถูกเสนอในการวัดมุมความโค้งกระดูกสันหลัง โดยศึกษาวิธีการวัดมุมความโค้งกระดูกสันหลังจากภาพฉายรังสี 2 มิติ กระดูกสันหลังด้านหน้าในผู้ป่วยโรค กระดูกสันหลังโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 30 ภาพ ทำการวัดโดยนักวิจัยที่ได้รับการอบรมการกำหนดจุด ขอบกระดูกสันหลังจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน โดยสถิติที่นำมาใช้ คือการเปรียบเทียบค่าความ น่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมินใช้แบบจำลอง ICC (3,1) และ ความน่าเชื่อถือในระหว่างผู้ประเมินใช้ แบบจำลอง ICC (2,1) จากผลการศึกษาพบว่า ค่าความน่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมินของวิธีการวัดแบบ เฟอร์กูสัน, คอบบ์ และ พหุนาม เท่ากับ 0.924, 0.933 และ 0.515 ตามลำดับ ส่วนค่าความน่าเชื่อถือในระหว่างผู้ ประเมินของวิธีการวัดแบบ เฟอร์กูสัน, คอบบ์ และ พหุนาม เท่ากับ 0.797, 0.805 และ 0.526 ตามลำดับ วิธีการวัดแบบเฟอร์กูสัน และ พหุนาม ของตัวผู้ประเมิน และ ระหว่างผู้ประเมินนั้นไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญ (p>0.05) และ พบว่าวิธีการวัดแบบคอบบ์แตกต่างจากวิธีการวัดแบบเฟอร์กูสัน และ พหุนาม ของตัวผู้ประเมิน และ ระหว่างผู้ประเมินอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่าวิธีการวัดมุมความ โค้งของกระดูกสันหลังที่มีค่าความน่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมิน และ ระหว่างผู้ประเมินมากที่สุดคือ วิธีการ วัดมุมความโค้งกระดูกสันหลังแบบคอบบ์โดยมีความน่าเชื่อถือของตัวผู้ประเมินมากกว่าระหว่างผู้ประเมิน ควรใช้วิธีการวัดมุมความโค้งกระดูกสันหลังแบบคอบบ์ในการวัดของตัวผู้ประเมินจะให้ผลลัพธ์ที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
Description
Technology of Information System Management (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Technology of Information System Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University