Attitude of safety culture among intensive care nurses in private tertiary hospital
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 104 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Industrial Hygiene And Safety))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Arisara Suwanarit Attitude of safety culture among intensive care nurses in private tertiary hospital. Thematic Paper (M.Sc. (Industrial Hygiene And Safety))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94069
Title
Attitude of safety culture among intensive care nurses in private tertiary hospital
Alternative Title(s)
ทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยของพยาบาลหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลเอกชนระดับตติยภูมิ
Author(s)
Abstract
This cross sectional study aims to determine the attitudes on safety culture level of ICU nurses at a private tertiary care hospital, and to assess the relationship between sociodemographic factors, including gender, age, education level and work experience, work characteristics factors, including job position, working hours per week, number patient care in one shift and the management of organizations factors including the leader informing about safety policy, and participation in safety training. It also aimed to study the attitude of six safety culture dimensions including teamwork climate, safety climate, stress recognition, working condition, job satisfaction and perception of management among 262 ICU nurses at three selected private tertiary care hospitals located in Bangkok, Chonburi and Phuket province. The researcher examined the SAQ-ICU version developed by the University of Texas and then modified in Thai as a tool for assessment and using Cronbach's alpha to confirm internal consistency. The scale was 0.92. The ANOVA test is used to determine the different mean score between independent variables on the dependent variable in a regression analysis. The questionnaire was returned with response rate 75 percent. The result finding showed the overall mean score of the attitudes on safety culture ranged from 2.63 to 4.36 with a mean score of 3.67 + 0.29. Most of attitudes on safety culture dimensions were perceived at a high level, except stress recognition dimension was perceived at a moderate level. The socio-demographic factors, including gender, age, education level, and work experience did not influence the attitudes on safety culture among ICU nurses. A Significant relationship was observed between the number of patients cared for and level of attitude of safety culture. The nurses who provided patient care less than 3 cases per shift had the highest attitude mean score of teamwork climate, and safety climate than other groups and the level of attitude decreased when more patients were cared for (p<0.05). The nurses who participated in safety training class more had higher attitudes on safety culture of all dimensions and there is significant difference in attitude mean score of teamwork climate, job satisfaction and perception of management between groups (p<0.05). However, this study result found no significant difference in attitude mean score between job positions, working hours per week and the number who received information about safety policy from the leader with level of safety culture dimensions.
การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางศึกษาระดับทัศนคติของวัฒนธรรมความปลอดภัยของพยาบาลหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลเอกชนเพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ปัจจัยลักษณะงาน ได้แก่ ตำแหน่งงาน, จำนวนชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์, จำนวนผู้ป่วยที่ดูแลในแต่ละเวร และปัจจัยการบริหารจัดการองค์กร ได้แก่ การได้รับการสื่อสารเกี่ยวกับนโยบายความปลอดภัยจากผู้บริหาร, การได้รับอบรมด้านความปลอดภัย ต่อระดับวัฒนธรรมความปลอดภัย 6 ด้าน ได้แก่ การทำงานเป็นทีม, บรรยากาศด้านความปลอดภัย, การตระหนักรู้ความเครียด, บรรยากาศในการทำงาน, ความพึงพอใจในงาน และ การรับรู้ระบบบริหารจัดการของพยาบาลหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลเอกชนระดับตติยภูมิจำนวน 3 โรงซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร, ชลบุรีและภูเก็ตจำนวน 197 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา SAQ-ICU version ของ University of Texas ซึ่งผู้วิจัยแปลเป็นภาษาไทย ทดสอบความตรงตามเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่น Cronbach's alpha 0.92 และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัย ระหว่างกลุ่มประชากรโดยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวโดยการศึกษาครั้งนี้ได้แบบสอบถามตอบกลับ 75 เปอร์เซ็นต์ ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยโดยรวมมีค่าอยู่ระหว่าง 2.63 ถึง 4.36 เฉลี่ย 3.67+0.29 ระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยทั้ง 6 ด้านอยู่ในระดับสูง ยกเว้นการตระหนักรู้ความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานไม่มีอิทธิพลต่อระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัย ปัจจัยลักษณะงานได้แก่ จำนวนผู้ป่วยที่ดูแลต่อเวรมีผลต่อระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยพบว่าพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยน้อยกว่า 3 คนต่อเวร มีระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยด้านการทำงานเป็นทีมและบรรยากาศความปลอดภัยมากกว่าพยาบาลกลุ่มอื่น นอกจากนี้พบว่าระดับทัศนคติวัฒธรรมความปลอดภัยลดลงเมื่อดูแลผู้ป่วยจำนวนมากขึ้น(p<0.05) ปัจจัยการบริหารจัดการองค์กร พบว่าจำนวนครั้งการอบรมด้านความปลอดภัยมีผลต่อระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยทั้ง 6 ด้านในระดับสูง และระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยด้านการทำงานเป็นทีม ความพึงพอใจต่องาน การรับรู้ระบบบริหารจัดการมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) อย่างไรก็ตามผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ระหว่าง ตำแหน่งงาน จำนวนชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์ และการได้รับการสื่อสารเกี่ยวกับนโยบายความปลอดภัยจากผู้บริหารกับระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัย
การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางศึกษาระดับทัศนคติของวัฒนธรรมความปลอดภัยของพยาบาลหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลเอกชนเพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ปัจจัยลักษณะงาน ได้แก่ ตำแหน่งงาน, จำนวนชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์, จำนวนผู้ป่วยที่ดูแลในแต่ละเวร และปัจจัยการบริหารจัดการองค์กร ได้แก่ การได้รับการสื่อสารเกี่ยวกับนโยบายความปลอดภัยจากผู้บริหาร, การได้รับอบรมด้านความปลอดภัย ต่อระดับวัฒนธรรมความปลอดภัย 6 ด้าน ได้แก่ การทำงานเป็นทีม, บรรยากาศด้านความปลอดภัย, การตระหนักรู้ความเครียด, บรรยากาศในการทำงาน, ความพึงพอใจในงาน และ การรับรู้ระบบบริหารจัดการของพยาบาลหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลเอกชนระดับตติยภูมิจำนวน 3 โรงซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร, ชลบุรีและภูเก็ตจำนวน 197 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา SAQ-ICU version ของ University of Texas ซึ่งผู้วิจัยแปลเป็นภาษาไทย ทดสอบความตรงตามเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่น Cronbach's alpha 0.92 และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัย ระหว่างกลุ่มประชากรโดยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวโดยการศึกษาครั้งนี้ได้แบบสอบถามตอบกลับ 75 เปอร์เซ็นต์ ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยโดยรวมมีค่าอยู่ระหว่าง 2.63 ถึง 4.36 เฉลี่ย 3.67+0.29 ระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยทั้ง 6 ด้านอยู่ในระดับสูง ยกเว้นการตระหนักรู้ความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานไม่มีอิทธิพลต่อระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัย ปัจจัยลักษณะงานได้แก่ จำนวนผู้ป่วยที่ดูแลต่อเวรมีผลต่อระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยพบว่าพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยน้อยกว่า 3 คนต่อเวร มีระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยด้านการทำงานเป็นทีมและบรรยากาศความปลอดภัยมากกว่าพยาบาลกลุ่มอื่น นอกจากนี้พบว่าระดับทัศนคติวัฒธรรมความปลอดภัยลดลงเมื่อดูแลผู้ป่วยจำนวนมากขึ้น(p<0.05) ปัจจัยการบริหารจัดการองค์กร พบว่าจำนวนครั้งการอบรมด้านความปลอดภัยมีผลต่อระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยทั้ง 6 ด้านในระดับสูง และระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัยด้านการทำงานเป็นทีม ความพึงพอใจต่องาน การรับรู้ระบบบริหารจัดการมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) อย่างไรก็ตามผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ระหว่าง ตำแหน่งงาน จำนวนชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์ และการได้รับการสื่อสารเกี่ยวกับนโยบายความปลอดภัยจากผู้บริหารกับระดับทัศนคติวัฒนธรรมความปลอดภัย
Description
Industrial Hygiene And Safety (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Industrial Hygiene And Safety
Degree Grantor(s)
Mahidol University