การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง
Issued Date
2024-02-27
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Journal Title
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5
Volume
ครั้งที่5
Issue
-
Start Page
101
End Page
125
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
นิดา วงศ์สวัสดิ์ และศิวรักษ์ ขนอม (2560). การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5 : หน้า101-125.
Suggested Citation
นิดา วงศ์สวัสดิ์, ศิวรักษ์ ขนอม การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง. นิดา วงศ์สวัสดิ์ และศิวรักษ์ ขนอม (2560). การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5 : หน้า101-125.. 125. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/97652
Title
การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง
Alternative Title(s)
Research and development core stabilize exercise biofeedback device for low back Pain
Author(s)
Author's Affiliation
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังสำหรับผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่าง เนื่องจากการออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังเป็นการออกกำลังกายที่ซับซ้อน ผู้ออกกำลังกายไม่สามารถทราบว่าตัวเองออกกำลังกายได้ถูกวิธีหรือไม่ ด้วยเหตุนี้จึงพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังที่สามารถประเมินความถูกต้องในการออกกำลังกายได้ โดยอุปกรณ์ทำจากวัสดุที่หาได้ง่ายในประเทศไทย มีการควบคุมขนาดให้เหมาะสม ใช้งานง่าย ดูแลรักษาง่ายและมีราคาไม่แพง ผลการวิจัยพบว่า ได้อุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายที่สามารถบอกความถูกต้องในการออกกำลังกายกล้ามเนื้อเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังและวัดประสิทธิผลการพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายครั้งที่ 1 (รหัส BS01) พบว่าในกลุ่มทดลองมีความมั่นคงของกระดูกสันหลังและเชิงกรานเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด โดยเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 ระดับ การวัดประสิทธิผลการพัฒนาอุปกรณ์ช่วยออกกำลังกายครั้งที่ 2 (รหัส BS02) พบว่ามีความมั่นคงของกระดูกสันหลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 92.9 ของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด โดยเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 ระดับ และมีระดับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังหลังใช้อุปกรณ์ช่วยครบ 12 ครั้งมีค่ามากกว่าก่อนใช้อุปกรณ์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และจากการประเมินความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์พบว่าด้านความปลอดภัยมีคะแนนความพึงพอใจมากที่สุดถึงร้อยละ 82.3
The purpose of this research aim to develop the prototype of core stabilize exercise biofeedback device used for supporting core stabilize exercise in low back pain patients. The core stabilize exercise is to strengthen lumbar muscles but it is complicated. The patients do not know themselves that exercise is appropriate and they often do wrong exercise. This research developed the device to help patients know the correctness of exercise. The device was designed to use available materials in Thailand. Away, it was developed to be safe, easy to use and maintenance, appropriate size and inexpensive. In evaluation phase for code BS01 device, The experimental group after used this device that they had increase level of lumbo-pelvic stabilize for 100 % of all participants and average increase more than 2 levels. In evaluation phase for code BS02 device, the participants used the prototype of core stabilize exercise biofeedback device. They had increase level of lumbo- pelvic stabilize scale for 92.9 % of all participants and average increase more than 3 levels. The levels of lumbo-pelvic stabilize scale after using core stabilize exercise biofeedback device is more than the levels before using the device reaching a 0.05 significance level. In the satisfaction questionnaire, the highest score is safety for 82.8%.
The purpose of this research aim to develop the prototype of core stabilize exercise biofeedback device used for supporting core stabilize exercise in low back pain patients. The core stabilize exercise is to strengthen lumbar muscles but it is complicated. The patients do not know themselves that exercise is appropriate and they often do wrong exercise. This research developed the device to help patients know the correctness of exercise. The device was designed to use available materials in Thailand. Away, it was developed to be safe, easy to use and maintenance, appropriate size and inexpensive. In evaluation phase for code BS01 device, The experimental group after used this device that they had increase level of lumbo-pelvic stabilize for 100 % of all participants and average increase more than 2 levels. In evaluation phase for code BS02 device, the participants used the prototype of core stabilize exercise biofeedback device. They had increase level of lumbo- pelvic stabilize scale for 92.9 % of all participants and average increase more than 3 levels. The levels of lumbo-pelvic stabilize scale after using core stabilize exercise biofeedback device is more than the levels before using the device reaching a 0.05 significance level. In the satisfaction questionnaire, the highest score is safety for 82.8%.