A code-switching in casual conversatios : a case study in Tai Dam bilinguals at Baan Huathanoon of Nakhonpathom, Thailand
Issued Date
2023
Copyright Date
2015
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 198 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Parada Dechapratumwan A code-switching in casual conversatios : a case study in Tai Dam bilinguals at Baan Huathanoon of Nakhonpathom, Thailand. Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89724
Title
A code-switching in casual conversatios : a case study in Tai Dam bilinguals at Baan Huathanoon of Nakhonpathom, Thailand
Alternative Title(s)
การสลับภาษาในบทสนทนาแบบไม่เป็นทางการ : กรณีศึกษาผู้พูดภาษาไทดำที่รู้สองภาษา ณ บ้านหัวถนน จังหวัดนครปฐม
Author(s)
Abstract
This study aims to investigate the code-switching behavior of Tai Dam bilinguals in three generations and identify its discourse-semantics functions as well as describe the relationship between its functions and context of situation. Drawing from interviews, non-participant observation and analysis of tape recordings, the researcher concluded that code-switching is prevalent in Tai Dam generation 2 and less prevalent in generation 1 and generation 3 respectively. Three types of code-switching structures are identified: 1) intra-sentential switching, 2) inter- sentential switching and 3) thematic switching that is prominent in Tai Dam generation 2. With reference to those structures, four main discourse-semantics functions are identified by the lens of Systemic Functional Linguistics. Those functions are 1) logical function, 2) experiential function, 3) interpersonal function and 4) textual function. Logical function is most prevalent, especially projection. Experiential and textual functions are less prevalent. Code-Switching also associates with the context of situation. The contextual analysis reveals that the frequency of code-switching depends on the filed of code-switching, the tenor relationship, especially power, which is varied by the context dependence, and the mode of code- switching, which can be described as the action of talking, gossiping, teasing, projecting and so on.
การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจพฤติกรรมการสลับภาษาของผู้รู้สองภาษาชาวไทดำใน 3 รุ่นอายุ, เพื่อระบุหน้าที่ทางอรรถศาสตร์-ปริจเฉทของการสลับภาษา และเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ของการสลับภาษากับปริบทสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากการสัมภาษณ์ การสังเกตุการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม และการวิเคราะห์บทสนทนาที่ได้จากการบันทึกเสียง พบว่าชาวไทดำรุ่นอายุที่ 2 มีการสลับภาษามากที่สุด รองลงมาคือรุ่นอายุที่ 1 และรุ่นอายุที่ 3 ตามลำดับ การสลับภาษามี 3 โครงสร้างคือ 1) การสลับภาษาที่เกิดขึ้นภายในขอบเขตของอนุพากย์ 2) การสลับภาษาที่เกิดขึ้นภายนอกขอบเขตของอนุพากย์ และ 3) การสลับภาษาที่เกิดขึ้นตามหัวข้อสนทนา (Theme) ซึ่งเป็นลักษณะเด่นเกิดขึ้นเฉพาะรุ่นอายุที่ 2 ทั้ง 3 โครงสร้างนี้ทำหน้าที่ทางความหมายตามแนวคิดไวยากรณ์ระบบ-หน้าที่พบดังนี้ 1) หน้าที่เชิงตรรกะ 2) หน้าที่สื่อความคิด 3) หน้าที่ปฎิสัมพันธ์ และ 4) หน้าที่ในตัวบท ทั้งนี้พบการสลับภาษาในบทสนทนาหน้าที่เชิงตรรกะมากที่สุด โดยเฉพาะการอ้างอิง (projection) ส่วนหน้าที่ที่พบน้อยที่สุดคือหน้าที่สื่อความคิดและหน้าที่ในตัวบท นอกจากนี้การสลับภาษายังสัมพันธ์กับปริบทสถานการณ์พบว่าความถี่ ของการปรากฏการสลับภาษาขึ้นอยู่กับปริบทแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องที่สนทนาและความสัมพันธ์ระหว่างคู่สนทนาโดยเฉพาะเรื่องของอำนาจ ส่วนรูปแบบหรือวิธีการที่ปรากฏในการสลับภาษาพบ การพูด การนินทา การเยาะเย้ย และการอ้างอิง
การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจพฤติกรรมการสลับภาษาของผู้รู้สองภาษาชาวไทดำใน 3 รุ่นอายุ, เพื่อระบุหน้าที่ทางอรรถศาสตร์-ปริจเฉทของการสลับภาษา และเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ของการสลับภาษากับปริบทสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากการสัมภาษณ์ การสังเกตุการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม และการวิเคราะห์บทสนทนาที่ได้จากการบันทึกเสียง พบว่าชาวไทดำรุ่นอายุที่ 2 มีการสลับภาษามากที่สุด รองลงมาคือรุ่นอายุที่ 1 และรุ่นอายุที่ 3 ตามลำดับ การสลับภาษามี 3 โครงสร้างคือ 1) การสลับภาษาที่เกิดขึ้นภายในขอบเขตของอนุพากย์ 2) การสลับภาษาที่เกิดขึ้นภายนอกขอบเขตของอนุพากย์ และ 3) การสลับภาษาที่เกิดขึ้นตามหัวข้อสนทนา (Theme) ซึ่งเป็นลักษณะเด่นเกิดขึ้นเฉพาะรุ่นอายุที่ 2 ทั้ง 3 โครงสร้างนี้ทำหน้าที่ทางความหมายตามแนวคิดไวยากรณ์ระบบ-หน้าที่พบดังนี้ 1) หน้าที่เชิงตรรกะ 2) หน้าที่สื่อความคิด 3) หน้าที่ปฎิสัมพันธ์ และ 4) หน้าที่ในตัวบท ทั้งนี้พบการสลับภาษาในบทสนทนาหน้าที่เชิงตรรกะมากที่สุด โดยเฉพาะการอ้างอิง (projection) ส่วนหน้าที่ที่พบน้อยที่สุดคือหน้าที่สื่อความคิดและหน้าที่ในตัวบท นอกจากนี้การสลับภาษายังสัมพันธ์กับปริบทสถานการณ์พบว่าความถี่ ของการปรากฏการสลับภาษาขึ้นอยู่กับปริบทแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องที่สนทนาและความสัมพันธ์ระหว่างคู่สนทนาโดยเฉพาะเรื่องของอำนาจ ส่วนรูปแบบหรือวิธีการที่ปรากฏในการสลับภาษาพบ การพูด การนินทา การเยาะเย้ย และการอ้างอิง
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University