Behavioral study of maturation of white-handed gibbons (hylobates lar) at Khao Yai National Park, Thailand
Issued Date
1997
Copyright Date
1997
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvii, 153 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 1997
Suggested Citation
Udomlux Suwanvecho Behavioral study of maturation of white-handed gibbons (hylobates lar) at Khao Yai National Park, Thailand. Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 1997. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103217
Title
Behavioral study of maturation of white-handed gibbons (hylobates lar) at Khao Yai National Park, Thailand
Alternative Title(s)
การศึกษาทางพฤติกรรมของการบรรลุภาวะเต็มวัยของชะนีมือขาว (Hylobates Lar) ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ประเทศไทย
Author(s)
Abstract
A field behavioral study of the white-handed gibbons (Hylobates lar) was carried out in the Khao Yai National Park, Thailand, from November 1995 to July 1996. The goal of the research was to study the maturation process and to evaluate the roles of subadults in their social groups. The research was focused on the differences between animals in proportion of time they spent in social behavior and the social interactions of subadults with other individuals. Earlier studies indicated that subadults are peripherized by the adults after reaching maturation, and automatically excluded from their groups. The findings from this study show that subadults are not peripherized as soon as believed. Instead, they remained with their family for several years even after maturation, and played positive roles in their groups. The maturation process of subadult females was rarely observed in the wild. It was generally believed that subadult females received the same level of antagonistic behavior from the female adults as subadult males did from male adults. However, the subadult female in this study had closer relationship with the adults and was not observed to be subject of aggression, while the subadult males received frequently antagonistic behavior from adult males. This phenomenon can be explained by the extra pair copulation and the kin-ship theory. Reciprocal benefits are believed to exist between adults and subadults that remained in a group after maturation. Two major benefits that subadults contribute to breeding adult pairs observed in this study are: (1) aid in territorial defense and; (2) improved physical and social development of juveniles through playing and grooming.
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอผลการศึกษาภาคสนามพฤติกรรมการบรรลุภาวะเต็มวัย ในประชากรชะนีมือขาว ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2538 ถึงเดือน กรกฎาคม 2539 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษากระบวนการบรรลุภาวะเต็มวัย และประเมินบทบาทของชะนีวัยกึ่งเต็มวัยที่มีต่อครอบครัว การศึกษาในอดีตที่ผ่านมามักจะสรุปว่า หลังจากชะนีเจริญเติบโตเต็มวัยจะแยกตัวออกจากกลุ่มและตั้งครอบครัว ใหม่ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ระบุว่าชะนีวัยกึ่งเต็มวัย ไม่ได้แยกตัวออกจากครอบครัวอย่างที่เชื่อกันในอดีต หากแต่ ยังคงอยู่ร่วมและมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสมาชิก ในกลุ่มต่อไปอีกระยะเวลาหนึ่ง มีการศึกษาน้อยมากเกี่ยวกับพฤติกรรมการบรรลุภาวะ เต็มวัยในชะนีกึ่งเต็มวัยเพศเมีย เป็นที่เชื่อกันว่าชะนีกึ่งเต็มวัยเพศเมียได้รับพฤติกรรมก้าวร้าวจากชะนีเต็มวัย เพศเมียในระดับเดียวกับที่ชะนีกึ่งเต็มวัยเพศผู้ได้รับจากชะนีเต็มวัยเพศผู้ภายในกลุ่ม จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าชะนีกึ่งเต็มวัยเพศเมียมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ คู่ชะนีเต็มวัย และไม่ได้รับพฤติกรรมก้าวร้าวจากชะนี เต็มวัยเพศเมียเลย ในขณะที่ชะนีกึ่งเต็มวัยเพศผู้ได้รับ พฤติกรรมก้าวร้าวจากชะนีเต็มวัยเพศผู้บ่อยครั้ง ปรากฏการณ์นี้สามารถอธิบายได้โดยทฤษฎีความสัมพันธ์ในหมู่ญาติ จากทฤษฎีทางชีววิทยาสังคม ในกรณีที่ชะนีโตเต็มที่แล้ว แต่ยังคงอยู่ในกลุ่มร่วมกับคู่ชะนีเต็มวัยโดยไม่แยก ครอบครัวและสืบพันธุ์ จะต้องมีประโยชน์ทั้งต่อชะนีกึ่งเต็มวัยและต่อคู่ชะนีเต็มวัยเจ้าของกลุ่ม การศึกษาครั้ง นี้พบว่าประโยชน์ต่อคู่ชะนีเต็มวัยในการให้ชะนีกึ่งเต็มวัยอยู่ร่วมกลุ่มมี 2 ประการ คือ (1) ชะนีกึ่งเต็ม วัยช่วยชะนีเต็มวัยในการป้องกันอาณาเขต และ (2) ชะนีกึ่งเต็มวัยช่วยพัฒนาทักษะทางกายภาพและสังคม ของชะนีวัยเด็กและวัยทารกตอนปลาย โดยเล่น และ ทำความสะอาดขนให้
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอผลการศึกษาภาคสนามพฤติกรรมการบรรลุภาวะเต็มวัย ในประชากรชะนีมือขาว ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2538 ถึงเดือน กรกฎาคม 2539 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษากระบวนการบรรลุภาวะเต็มวัย และประเมินบทบาทของชะนีวัยกึ่งเต็มวัยที่มีต่อครอบครัว การศึกษาในอดีตที่ผ่านมามักจะสรุปว่า หลังจากชะนีเจริญเติบโตเต็มวัยจะแยกตัวออกจากกลุ่มและตั้งครอบครัว ใหม่ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ระบุว่าชะนีวัยกึ่งเต็มวัย ไม่ได้แยกตัวออกจากครอบครัวอย่างที่เชื่อกันในอดีต หากแต่ ยังคงอยู่ร่วมและมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสมาชิก ในกลุ่มต่อไปอีกระยะเวลาหนึ่ง มีการศึกษาน้อยมากเกี่ยวกับพฤติกรรมการบรรลุภาวะ เต็มวัยในชะนีกึ่งเต็มวัยเพศเมีย เป็นที่เชื่อกันว่าชะนีกึ่งเต็มวัยเพศเมียได้รับพฤติกรรมก้าวร้าวจากชะนีเต็มวัย เพศเมียในระดับเดียวกับที่ชะนีกึ่งเต็มวัยเพศผู้ได้รับจากชะนีเต็มวัยเพศผู้ภายในกลุ่ม จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าชะนีกึ่งเต็มวัยเพศเมียมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ คู่ชะนีเต็มวัย และไม่ได้รับพฤติกรรมก้าวร้าวจากชะนี เต็มวัยเพศเมียเลย ในขณะที่ชะนีกึ่งเต็มวัยเพศผู้ได้รับ พฤติกรรมก้าวร้าวจากชะนีเต็มวัยเพศผู้บ่อยครั้ง ปรากฏการณ์นี้สามารถอธิบายได้โดยทฤษฎีความสัมพันธ์ในหมู่ญาติ จากทฤษฎีทางชีววิทยาสังคม ในกรณีที่ชะนีโตเต็มที่แล้ว แต่ยังคงอยู่ในกลุ่มร่วมกับคู่ชะนีเต็มวัยโดยไม่แยก ครอบครัวและสืบพันธุ์ จะต้องมีประโยชน์ทั้งต่อชะนีกึ่งเต็มวัยและต่อคู่ชะนีเต็มวัยเจ้าของกลุ่ม การศึกษาครั้ง นี้พบว่าประโยชน์ต่อคู่ชะนีเต็มวัยในการให้ชะนีกึ่งเต็มวัยอยู่ร่วมกลุ่มมี 2 ประการ คือ (1) ชะนีกึ่งเต็ม วัยช่วยชะนีเต็มวัยในการป้องกันอาณาเขต และ (2) ชะนีกึ่งเต็มวัยช่วยพัฒนาทักษะทางกายภาพและสังคม ของชะนีวัยเด็กและวัยทารกตอนปลาย โดยเล่น และ ทำความสะอาดขนให้
Description
Environmental Biology (Mahidol University 1997)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Environmental Biology
Degree Grantor(s)
Mahidol University