Seasonal variation in cambial activity of podocarpus neriifolius at Khao Yai National Park
Issued Date
2006
Copyright Date
2006
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 105 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9740476511
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Information Management on Environments and Resources))--Mahidol University, 2006
Suggested Citation
Kamol Suwanpatra Seasonal variation in cambial activity of podocarpus neriifolius at Khao Yai National Park. Thesis (M.Sc. (Information Management on Environments and Resources))--Mahidol University, 2006. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106540
Title
Seasonal variation in cambial activity of podocarpus neriifolius at Khao Yai National Park
Alternative Title(s)
ความผันแปรตามฤดูกาลของกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญของพญาไม้ พื้นที่ศึกษาอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of this study were to observe seasonal variation in cambial
activity of Podocarpus neriifolius, and to investigate relationship between such
activity and certain climatic factors: precipitation, temperature, and soil moisture. The study area was located on Khao Keaw Peak, Khao Yai National Park. Cambial zone of 10 podocarpus trees was sampled once a month from
February 2005 to January 2006. The samples were then prepared by the paraffin technique and investigated under a light microscope. The cambial activity was determined by counting undifferentiated cells in the cambial zone. After that, twelve-month variation in the cambial activity was analyzed with the climatic factors by Pearson correlation and multiple regression analyses. Moreover, a whole-trunk transverse section and 12 core samples were obtained from the same site for macroscopic investigation under a stereo microscope. Additionally, soil physical and chemical properties of the area were analyzed so as to update fundamental data investigated in 1984. The study revealed that the cambial zone of P. neriifolius remained active throughout the year. Four growth flushes were recognized with 3 mid-season growth pauses in between. The correlation analysis demonstrated that the cambial activity did not have a significant relationship with any of the climatic factors examined. Likewise, the regression analysis exhibited that only 13.80 % of the activity was influenced by considered factors. Furthermore, the macroscopic investigation could define 3 types of growth boundaries: narrow, wedging, and wide types. The disc and 6 core samples apparently presented positive trends of growth while the remaining samples did not. In addition, soils in the area were classified in clay and loam types, which had high
percentages of sand. Their fertility was found to be altogether low.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผันแปรตามฤดูกาลในกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญของพญาไม้ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมดังกล่าวและปัจจัยภูมิอากาศ อันได้แก่ ปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิ และความชื้นในดิน พื้นที่ศึกษาอยู่บริเวณยอดเขาเขียว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตัวอย่างในการศึกษาคือเนื้อเยื่อเจริญจากพญาไม้ 10 ต้น โดยเก็บตัวอย่างเดือนละ 1 ครั้งตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ.2549 และใช้เทคนิคพาราฟินในการเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาใต้กล้องจุลทรรศน์ โดยจำนวนชั้นเนื้อเยื่อเจริญสามารถแสดงถึงกิจกรรมในช่วงเวลาที่เก็บตัวอย่างได้ หลังจากนั้น นำความผันแปรในกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญตลอด 12 เดือนไปหาความสัมพันธ์กับปัจจัยภูมิอากาศ โดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ นอกจากการศึกษาเนื้อเยื่อเจริญ การศึกษาครั้งนี้ยังได้ศึกษาวงเจริญเติบโตของพญาไม้ โดยใช้ตัวอย่าง 13 ตัวอย่าง (เขียง 1 ตัวอย่างและตัวอย่างขนาดเล็ก 12 ตัวอย่าง) นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินในพื้นที่ เพื่อตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานซึ่งมีผู้เคยศึกษาไว้ ในปี พ.ศ.2527 ผลการศึกษาพบว่า เนื้อเยื่อเจริญของพญาไม้มีกิจกรรมตลอด 12 เดือน และสามารถแบ่งกิจกรรมเป็น 4 รอบ ทั้งนี้ ความผันแปรในกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยภูมิอากาศอย่างมีนัยสำคัญ โดยกิจกรรมดังกล่าวได้รับอิทธิพลจากปัจจัยภูมิอากาศเพียงร้อยละ 13.80 นอกจากนี้ การศึกษาเขียงพญาไม้และตัวอย่างขนาดเล็กทำให้พบวงเจริญเติบโต 3 ประเภท ได้แก่ วงแคบ(narrow) วงรูปลื่ม(wedging) และวงกว้าง(wide) และพบแนวโน้มการเจริญเติบโตเชิงบวกในตัวอย่างเขียงและตัวอย่างขนาดเล็ก 6 ตัวอย่าง ดินในพื้นที่ศึกษาส่วนมากจัดอยู่ในกลุ่มดินเหนียวและดินร่วนซึ่งมีปริมาณทรายมากและมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผันแปรตามฤดูกาลในกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญของพญาไม้ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมดังกล่าวและปัจจัยภูมิอากาศ อันได้แก่ ปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิ และความชื้นในดิน พื้นที่ศึกษาอยู่บริเวณยอดเขาเขียว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตัวอย่างในการศึกษาคือเนื้อเยื่อเจริญจากพญาไม้ 10 ต้น โดยเก็บตัวอย่างเดือนละ 1 ครั้งตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ.2549 และใช้เทคนิคพาราฟินในการเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาใต้กล้องจุลทรรศน์ โดยจำนวนชั้นเนื้อเยื่อเจริญสามารถแสดงถึงกิจกรรมในช่วงเวลาที่เก็บตัวอย่างได้ หลังจากนั้น นำความผันแปรในกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญตลอด 12 เดือนไปหาความสัมพันธ์กับปัจจัยภูมิอากาศ โดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ นอกจากการศึกษาเนื้อเยื่อเจริญ การศึกษาครั้งนี้ยังได้ศึกษาวงเจริญเติบโตของพญาไม้ โดยใช้ตัวอย่าง 13 ตัวอย่าง (เขียง 1 ตัวอย่างและตัวอย่างขนาดเล็ก 12 ตัวอย่าง) นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินในพื้นที่ เพื่อตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานซึ่งมีผู้เคยศึกษาไว้ ในปี พ.ศ.2527 ผลการศึกษาพบว่า เนื้อเยื่อเจริญของพญาไม้มีกิจกรรมตลอด 12 เดือน และสามารถแบ่งกิจกรรมเป็น 4 รอบ ทั้งนี้ ความผันแปรในกิจกรรมเนื้อเยื่อเจริญไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยภูมิอากาศอย่างมีนัยสำคัญ โดยกิจกรรมดังกล่าวได้รับอิทธิพลจากปัจจัยภูมิอากาศเพียงร้อยละ 13.80 นอกจากนี้ การศึกษาเขียงพญาไม้และตัวอย่างขนาดเล็กทำให้พบวงเจริญเติบโต 3 ประเภท ได้แก่ วงแคบ(narrow) วงรูปลื่ม(wedging) และวงกว้าง(wide) และพบแนวโน้มการเจริญเติบโตเชิงบวกในตัวอย่างเขียงและตัวอย่างขนาดเล็ก 6 ตัวอย่าง ดินในพื้นที่ศึกษาส่วนมากจัดอยู่ในกลุ่มดินเหนียวและดินร่วนซึ่งมีปริมาณทรายมากและมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
Description
Information Management on Environments and Resources (Mahidol University 2006)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Information Management on Environments and Resources
Degree Grantor(s)
Mahidol University