การศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติงานของนักทรัพยากรบุคคลในสังกัดกรุงเทพมหานคร
dc.contributor.advisor | วริยา ชินวรรโณ | |
dc.contributor.advisor | ศิริพร แย้มนิล | |
dc.contributor.advisor | กรัณศุภมาส เอ่งฉ้วน | |
dc.contributor.author | จารินี รุทระกาญจน์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-15T04:07:47Z | |
dc.date.available | 2024-01-15T04:07:47Z | |
dc.date.copyright | 2559 | |
dc.date.created | 2567 | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.description | จริยศาสตร์ศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559) | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) ศึกษาสภาพการณ์ด้านจริยธรรมของนักทรัพยากรบุคคลกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักทรัพยากรบุคคลในการปฏิบัติงาน และ 3) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักจริยธรรมที่ใช้ตัดสินใจในการปฏิบัติงานของนักทรัพยากรบุคคลกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า 1) นักทรัพยากรบุคคลกรุงเทพมหานครใช้วินัยข้าราชการ และประมวลจริยธรรมของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 เป็นกรอบการประพฤติปฏิบัติตนและปฏิบัติงานเช่นเดียวกับข้าราชการตำแหน่งอื่น 2) นักทรัพยากรบุคคลกรุงเทพมหานครมีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติงาน โดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก และทุกหลักจริยธรรม ได้แก่ หลักความยุติธรรม หลักการไม่ทำอันตรายหลักการทำในสิ่งที่ดีและเป็นประโยชน์ และหลักการเคารพในบุคคล อยู่ในระดับสูงมากเช่นกัน และ 3) นักทรัพยากรบุคคลกรุงเทพมหานครใช้หลักจริยธรรมตัดสินใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยหลักความยุติธรรมและหลักการเคารพในบุคคลเป็นหลักจริยธรรมที่ใช้ตัดสินใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูง และหลักการไม่ทำอันตรายและการทำในสิ่งที่ดีและเป็นประโยชน์จะอยู่ในระดับปานกลาง | |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study: (1) the ethics of human resource officers in Bangkok Metropolitan Administration (BMA), (2) the ethical behaviors of human resource officers when performing their tasks and duties, and (3) human resource officers' views on ethics used for making decision when performing difficult tasks. The results were as follows: (1) the ethics that the BMA used as a practical framework for organizational officers are the discipline and the Code of Ethics of the BMA Officers and Employees (2007), (2) the ethical behaviors of human resource officers were very high. The results revealed that the officers in the BMA strictly followed the four elements of principlism. The most practical level of ethics among human resource officers ranged from justice, non-maleficence, beneficence, and autonomy respectively, and (3) overall, they gave the highest score on the items evaluating their views on ethics used for the task performance. They gave the highest score on the items relevant to the principle of justice and autonomy. In addition, the lower score was given to the items relevant to the principle of non-maleficence and beneficence respectively. | |
dc.format.extent | ก-ฎ, 228 แผ่น | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92828 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | ข้าราชการ -- จรรยาบรรณ | |
dc.subject | นักทรัพยากรบุคคล -- จรรยาบรรณ | |
dc.subject | ข้าราชการ | |
dc.subject | จริยธรรม | |
dc.title | การศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติงานของนักทรัพยากรบุคคลในสังกัดกรุงเทพมหานคร | |
dc.title.alternative | A study of the ethical behaviors in the performance of human resource officials in the Bangkok Metropolitan Administration | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd517/5436956.pdf | |
thesis.degree.department | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ | |
thesis.degree.discipline | จริยศาสตร์ศึกษา | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |