Effect of standardized ginseng extract on erythrocyte 2,3-diphosphoglycerate
Issued Date
2023
Copyright Date
1996
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 98 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1996
Suggested Citation
Areeya Chongsatientam Effect of standardized ginseng extract on erythrocyte 2,3-diphosphoglycerate. Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1996. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/90750
Title
Effect of standardized ginseng extract on erythrocyte 2,3-diphosphoglycerate
Alternative Title(s)
ผลของสารสกัดจากโสมต่อระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรทในเลือดแดง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The present study was carried out with humans to determine the effect of 8wk administration of standardized ginseng extract on blood 2,3-diphosphoglycerate levels at rest and during exercise. Sixteen healthy male university students were initially participated and were equally divided into two groups as ginseng (G, n=8) and placebo (P, n=8). Group G and Group P received standardized ginseng extract and placebo capsules, respectively, under double-blind condition for 8 wk. The dose of the ginseng extract was 300mg d(-1). Another subject group, designated as control (C, n=7) and received neither ginseng nor placebo, was added in this study to observe by comparison with group P any physiological effects of placebo. An incremental cycling exercise test for determination of maximal oxygen consumption (VO(,2max)) was performed by individual subjects in each group at the beginning and at the end of the 8-week experimental period. Resting and postexercise hemoglobin (Hb), hematocrit (Hct), reticulocyte count, mean corpuscular hemoglobin concentration (MCHC), 2,3-diphosphoglycerate (2,3-DPG), serum inorganic phosphate (INP), and blood lactate (LAC) were also determined. No significant changes in VO(,2max) from the O-week values was observed in the three subject groups by 8 weeks and no significant difference in VO(,2max) among group were found. LAC was significantly enhanced by exercise in all groups and the changes were similar among the groups. Resting and postexercise values of 2,3-DPG, reticulocyte count, MCHC, and lNP were also not significantly different from those of group P and group C. No significant correlation between VO(,2max) and resting and postexercise 2,3-DPG were observed. This finding indicates that ginseng administration, under the present experimental regimen, had no effect on both resting and exercising erythrocyte 2,3-DPG concentration levels as well as on maximal aerobic power in healthy young males.
ได้ทำการศึกษาผลของสารสกัดจากโสมต่อระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรทในเม็ดเลือดแดงในอาสาสมัครซึ่ง เป็นนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล เพศชาย ในเบื้องต้นมีอาสาสมัคร 16 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม เท่าๆ กัน คือกลุ่มรับประทานโสม (ginseng, G) และกลุ่ม รับประทานพลาซีโบ (placebo, P) อาสาสมัครกลุ่ม G ได้ รับสารสกัดจากโสมขนาด 300 มก. ต่อวัน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ขณะที่อาสาสมัครกลุ่ม P ได้รับ placebo ต่อมาได้เพิ่มกลุ่ม อาสาสมัครจำนวน 7 คน เป็นกลุ่ม control (C) เพื่อศึกษา ผลทางสรีรวิทยาของสาร placebo ได้ทำการทดสอบออกกำลังกาย เพื่อหาค่าความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO(,2max) โดยการปั่นจักรยานแบบเพิ่มความหนักจนถึงสูงสุดในสัปดาห์ที่ 0 และที่ 8 ของการทดลอง ทำการเจาะเลือดจากหลอดเลือดดำ ก่อนและภายใน 5 นาทีหลังการทดสอบการออกกำลังกาย เพื่อนำ ไปวิเคราะห์หาระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรท (2,3-DPG), ค่าฮีมาโทคริท, ค่าฮีโมโกลบิน, จำนวนเรททิคิวโลไซท์, ค่าเฉลี่ย ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเซลล์เม็ดเลือดแดง (MCHC), ระดับสารอินออร์แกนนิคฟอสเฟท และ แลคเตทในเลือด จาก ผลการทดลอง พบว่า การออกกำลังกายแบบเพิ่มความหนักจน หมดแรงมีผลเพิ่มระดับแลคเตทในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีผลต่อระดับสาร 2,3-DPG ในอาสาสมัครทุกกลุ่มและพบว่า ภายหลังได้รับสารสกัดจากโสมเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ระดับสาร 2,3-DPG ในเลือดทั้งก่อนและหลังการปั่นจักรยานแบบเพิ่ม ความหนักจนถึงจุดสูงสุดไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับค่าก่อนรับประทานโสมรวมทั้ง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มอาสาสมัครทั้งสามกลุ่ม อีกทั้ง พบว่า ค่าฮีมาโทคริท, ค่าฮีโมโกลบิน, จำนวนเรททิคิวโลไซท์, ค่า MCHC, ระดับสารฟอสเฟท และ แลคเตทในเลือดของกลุ่ม G ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่ม P และกลุ่ม C ทั้งก่อนและหลังการปั่นจักรยาน ค่า VO(,2max) ของกลุ่ม G ทั้งก่อนและหลังได้รับสารสกัดจากโสมไม่แตกต่างจากค่าของกลุ่ม P และกลุ่ม C อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในการทดลองนี้ยังพบว่า ค่า VO(,2max) ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับสาร 2,3-DPG ใน เม็ดเลือดแดง ข้อมูลจากการทดลองนี้บ่งชี้ว่า การให้สารสกัด จากโสมขนาด 300 มก. ต่อวัน นาน 8 สัปดาห์ ไม่มีผลต่อ ระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรทในเม็ดเลือดแดงและค่า ความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดในนักศึกษามหาวิทยาลัย เพศชายที่มีสุขภาพดี
ได้ทำการศึกษาผลของสารสกัดจากโสมต่อระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรทในเม็ดเลือดแดงในอาสาสมัครซึ่ง เป็นนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล เพศชาย ในเบื้องต้นมีอาสาสมัคร 16 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม เท่าๆ กัน คือกลุ่มรับประทานโสม (ginseng, G) และกลุ่ม รับประทานพลาซีโบ (placebo, P) อาสาสมัครกลุ่ม G ได้ รับสารสกัดจากโสมขนาด 300 มก. ต่อวัน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ขณะที่อาสาสมัครกลุ่ม P ได้รับ placebo ต่อมาได้เพิ่มกลุ่ม อาสาสมัครจำนวน 7 คน เป็นกลุ่ม control (C) เพื่อศึกษา ผลทางสรีรวิทยาของสาร placebo ได้ทำการทดสอบออกกำลังกาย เพื่อหาค่าความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO(,2max) โดยการปั่นจักรยานแบบเพิ่มความหนักจนถึงสูงสุดในสัปดาห์ที่ 0 และที่ 8 ของการทดลอง ทำการเจาะเลือดจากหลอดเลือดดำ ก่อนและภายใน 5 นาทีหลังการทดสอบการออกกำลังกาย เพื่อนำ ไปวิเคราะห์หาระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรท (2,3-DPG), ค่าฮีมาโทคริท, ค่าฮีโมโกลบิน, จำนวนเรททิคิวโลไซท์, ค่าเฉลี่ย ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเซลล์เม็ดเลือดแดง (MCHC), ระดับสารอินออร์แกนนิคฟอสเฟท และ แลคเตทในเลือด จาก ผลการทดลอง พบว่า การออกกำลังกายแบบเพิ่มความหนักจน หมดแรงมีผลเพิ่มระดับแลคเตทในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีผลต่อระดับสาร 2,3-DPG ในอาสาสมัครทุกกลุ่มและพบว่า ภายหลังได้รับสารสกัดจากโสมเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ระดับสาร 2,3-DPG ในเลือดทั้งก่อนและหลังการปั่นจักรยานแบบเพิ่ม ความหนักจนถึงจุดสูงสุดไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับค่าก่อนรับประทานโสมรวมทั้ง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มอาสาสมัครทั้งสามกลุ่ม อีกทั้ง พบว่า ค่าฮีมาโทคริท, ค่าฮีโมโกลบิน, จำนวนเรททิคิวโลไซท์, ค่า MCHC, ระดับสารฟอสเฟท และ แลคเตทในเลือดของกลุ่ม G ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่ม P และกลุ่ม C ทั้งก่อนและหลังการปั่นจักรยาน ค่า VO(,2max) ของกลุ่ม G ทั้งก่อนและหลังได้รับสารสกัดจากโสมไม่แตกต่างจากค่าของกลุ่ม P และกลุ่ม C อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในการทดลองนี้ยังพบว่า ค่า VO(,2max) ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับสาร 2,3-DPG ใน เม็ดเลือดแดง ข้อมูลจากการทดลองนี้บ่งชี้ว่า การให้สารสกัด จากโสมขนาด 300 มก. ต่อวัน นาน 8 สัปดาห์ ไม่มีผลต่อ ระดับสาร 2,3-ไดฟอสโฟกลีเซอเรทในเม็ดเลือดแดงและค่า ความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดในนักศึกษามหาวิทยาลัย เพศชายที่มีสุขภาพดี
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Physiology of Exercise
Degree Grantor(s)
Mahidol University