การศึกษาทางปรากฏการณ์วิทยา กิจกรรมดนตรีงานเดย์แคร์
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 152 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
พัชร์ลีฬห์ รัศมีจันทร์ การศึกษาทางปรากฏการณ์วิทยา กิจกรรมดนตรีงานเดย์แคร์. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92791
Title
การศึกษาทางปรากฏการณ์วิทยา กิจกรรมดนตรีงานเดย์แคร์
Alternative Title(s)
Phenomenological study of the day care clinic musical activity
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
งานวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์วิทยาในเชิงมานุษยวิทยาการดนตรีฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทำความเข้าใจ การให้ความหมายแก่ประสบการณ์ในการเข้าร่วมกิจกรรมดนตรีงานเดย์แคร์ของนักดนตรีและผู้สูงอายุ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ลุ่มลึกรอบด้าน จากผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ นักดนตรี 2 คน ผู้สูงอายุ 3 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี ผลการวิเคราะห์กิจกรรมดนตรีในฐานะที่เป็นวัฒนธรรมตามแนวคิดของมานุษยวิทยาการดนตรีของ อลัน พี. เมอร์เรียม ผู้วิจัยได้นำ แนวคิดเพ็นแทด ของ เค็นเน็ธ เบิร์ค เป็นกรอบในการศึกษากิจกรรมแล้วศึกษาการให้ความหมายแก่ประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมตามแนวคิดทางปรากฏการณ์วิทยาของ เอ็ดมุนด์ ฮูสเซิร์ล ทำให้ได้คำตอบว่านักดนตรีและผู้สูงอายุ ชี้ชัดความหมายของประสบการณ์ร่วมกันว่า กิจกรรมนี้เป็นพื้นที่แห่งโอกาส การเล่นดนตรีเป็นเครื่องหมายสำคัญ ของการดูแลผู้สูงอายุ ดนตรีเป็นเครื่องมือชักนำคนให้มา ทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดปฏิสัมพันธ์ ทำให้ผู้สูงอายุมีบทบาททางสังคม เสียงดนตรียังช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับความเพลิดเพลิน สามารถตอบสนองความต้องการในการฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ สังคมที่สูญเสียไปการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงผ่านคุณค่าแท้ของกิจกรรมเป็นเหตุปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้การจัดกิจกรรมดนตรีงานเดย์แคร์เกิดสัมฤทธิผล และดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
This qualitative research involved the phenomenological study of the ethnomusicology. The objective of this study was to understand the interpretation of the experience gained from participating in the Day Care musical activity of the musicians and the elderlies. The data were collected in one year by participant observation and formal and informal interview in order to obtain in-depth details from the informants who were two musicians and three elderlies. Analyzing the result of musical activity as a culture according to Alan P. Merriam's ethnomusicology together with Kenneth Burke's Pentad theory as a framework and studying the interpretation of the experience using Edmund Husserl's phenomenology, the result showed that the musicians and the elderly similarly interpreted the experience as the area of opportunity. Music performance was an important symbol of the elderlies care. Music is the tool bringing people to participate in the activity which leads to the interaction and social participation of the elderlies. Moreover, the music allows the elderlies to be entertained and able to fulfill the need of the body in physical, mental, and social rehabilitation. The real participation through the real value of the activity is the important reason that the Day Care musical activity is successful and constantly proceeded.
This qualitative research involved the phenomenological study of the ethnomusicology. The objective of this study was to understand the interpretation of the experience gained from participating in the Day Care musical activity of the musicians and the elderlies. The data were collected in one year by participant observation and formal and informal interview in order to obtain in-depth details from the informants who were two musicians and three elderlies. Analyzing the result of musical activity as a culture according to Alan P. Merriam's ethnomusicology together with Kenneth Burke's Pentad theory as a framework and studying the interpretation of the experience using Edmund Husserl's phenomenology, the result showed that the musicians and the elderly similarly interpreted the experience as the area of opportunity. Music performance was an important symbol of the elderlies care. Music is the tool bringing people to participate in the activity which leads to the interaction and social participation of the elderlies. Moreover, the music allows the elderlies to be entertained and able to fulfill the need of the body in physical, mental, and social rehabilitation. The real participation through the real value of the activity is the important reason that the Day Care musical activity is successful and constantly proceeded.
Description
วัฒนธรรมและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
วัฒนธรรมและการพัฒนา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล