Time spent on nursing activities in Orthopedics Department, Phramongkutklao Hospital

dc.contributor.advisorBhusita Intaraprasong
dc.contributor.authorBenjawan Wongprach
dc.date.accessioned2025-03-11T06:50:28Z
dc.date.available2025-03-11T06:50:28Z
dc.date.copyright2005
dc.date.created2025
dc.date.issued2005
dc.descriptionHealth Administration (Mahidol University 2005)
dc.description.abstractThe purpose of this cross-sectional exploratory research was to analyze the portion of nursing time spent on nursing activities by staff nurses (RNs and PNs) in the Orthopedics Department, Phramongkutklao Hospital. The research population consisted of 27 RNs and 17 PNs. Data were collected by work sampling technique by observation for 14 days (30 August to 12 September 2004). Statistical analysis was done using mean and standard deviation. Results revealed that RNs spent more time than PNs and had less time for resting. RNs spent the most time working in the evening shift 83.11% (6 hours and 39 minutes). Indirect care was 55.68% (4 hours and 27 minutes) and direct care, 24.39% (1 hour and 55 minutes). Regarding the day shift, RNs spent less time on nursing activities than the evening shift, 2 %; indirect care was 50% (4 hours), and direct care, 21.11% (1 hour and 4 minutes) and spent less time working in the night shift, 50.62% (4 hours and 3 minutes). PNs spent the most time working in the day shift, 66.44% (5 hours and 19 minutes); direct care was 27.82% (2 hours and 22 minutes), time spent in the evening shift was 59.87% (4 hours and 47 minutes) and spent less time working in the night shift, 35.15% (2 hours and 49 minutes). These findings suggest that nurse administrators should revise their job description according to job specification and divide tasks in equal proportion for each shift in consideration of feasibility and suitability. Moreover, they should indicate the exact break time, continually evaluate the quality of patient care during the process of nurses' role and work revision and evaluate by using work sampling technique a year after.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เรื่อง การใช้เวลาการบริการพยาบาล งานบริการผู้ป่วยใน แผนกออร์โธปิดิกส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สัดส่วนเวลาการบริการพยาบาลของบุคลากรการพยาบาล กลุ่มประชากรที่ใช้คือ พยาบาลวิชาชีพ และผู้ช่วยพยาบาล ที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยในออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จำนวน 44 คน ช่วงเวลา 14 วัน (30 สิงหาคม 2547 - 12 กันยายน 2547) รวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกตและบันทึกในแบบบันทึกการสุ่มงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าสัดส่วนการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลโดยภาพรวม พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลมากกว่าผู้ช่วยพยาบาล และมีเวลาพักน้อยกว่า พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลในเวรบ่ายมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 83.11 (6 ชั่วโมง 39 นาที) เป็นกิจกรรมการพยาบาลโดยอ้อมมากที่สุดร้อยละ 55.68 (4 ชั่วโมง 27 นาที) รองลงมาคือกิจกรรมพยาบาลโดยตรง ร้อยละ 24.39 (1 ชั่วโมง 55 นาที) เวรเช้าปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลน้อยกว่าเวรบ่ายเพียงร้อยละ 2 เป็นกิจกรรมการพยาบาลโดยอ้อมมากที่สุด ร้อยละ 50 (4 ชั่วโมง) รองลงมาคือกิจกรรมพยาบาลโดยตรงร้อยละ 21.11 (1 ชั่วโมง 4 นาที) ส่วนเวรดึกมีสัดส่วนเวลาการทำงานน้อยที่สุด ร้อยละ 50.62 (4 ชั่วโมง 3 นาที) ส่วนผู้ช่วยพยาบาลมีสัดส่วนเวลาการ ทำงานในเวรเช้ามากที่สุด ร้อยละ 66.44 (5 ชั่วโมง 19 นาที) เป็นการพยาบาลโดยตรงมากที่สุด ร้อยละ 27.82 (2 ชั่วโมง 22 นาที) ในเวรบ่าย มีสัดส่วนเวลาการทำงาน ร้อยละ 59.87 (4 ชั่วโมง 47 นาที) ส่วนเวรดึกมีสัดส่วนเวลาน้อยที่สุด เหมือนพยาบาลวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 35.15 (2 ชั่วโมง 49 นาที) ข้อเสนอแนะ: ผู้บริหารการพยาบาลควรกำหนดนโยบายการทบทวนคำพรรณนางาน เพื่อการกระจายงานให้เท่าเทียมกันในแต่ละเวร และปรับปรุงหน้าที่รับผิดชอบแต่ละเวร ให้ภาระงานสมดุลกำหนดเวลาพักที่แน่นอน ทบทวนกิจกรรมที่ไม่ก่อผลกับผู้ป่วยและเป็นกิจกรรมพยาบาลโดยตรง และ วิเคราะห์ผลกระทบของกลยุทธ์การปรับปรุงงานซ้ำใน 1 ปี ถัดไป หลังการปรับปรุงระบบงานใหม่แล้ว
dc.format.extentvii, 92 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Health Administration))--Mahidol University, 2005
dc.identifier.isbn9740462553
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106113
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectTime management
dc.subjectTime study
dc.titleTime spent on nursing activities in Orthopedics Department, Phramongkutklao Hospital
dc.title.alternativeการใช้เวลาการบริการพยาบาล งานบริการผู้ป่วยในแผนกออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2548/cd378/4536048.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Public Health
thesis.degree.disciplineHealth Administration
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files