Evaluation of rice husk towords electricity generation for very small power plant in Roi-et province
Issued Date
2013
Copyright Date
2013
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 171 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sustainable Environment Planning))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Sermsart Singkleeprapa Evaluation of rice husk towords electricity generation for very small power plant in Roi-et province. Thesis (M.Sc. (Sustainable Environment Planning))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95194
Title
Evaluation of rice husk towords electricity generation for very small power plant in Roi-et province
Alternative Title(s)
การประเมินศักยภาพชีวมวลประเภทแกลบเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก จังหวัดร้อยเอ็ด
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research aims to study the quantitative potential of rice husk biomass, as well as analyze and assess the utilization and production of rice husks in Roi-Et Province. There are two hypotheses: 1) The quantity of rice husks is sufficient for electricity production in the pilot study (2011) of a very small power plant (VSPP) in Roi-Et Province and 2) the long-term potential production of paddy and rice husk biomass volume in Roi-Et Province is insufficient for the demand. Purposive sampling was conducted with 3 rice mill groups producing rice husk biomass for the power plant in Roi-Et Province. The first group consisted of 568 rice mills with 1-9 tons/day of rice husk biomass producing capacity. The second group consisted of 19 rice mills with 10-80 tons/day of rice husk biomass producing capacity. The third group consisted of 12 rice mills with 81-1,650 tons/day of rice husk biomass producing capacity. The result of the pilot study (2011) of a biomass power plant (Sri Saeng Dao Bio-power plant) with a capacity of 9.0 MW found that the power plant required 250 tons/day of rice husk biomass. Three rice mills with rice husk biomass producing capacities of 387.5 tons/day provided raw material to the power plant. Therefore, the percentage of rice husk biomass utilization was 64.51 % of producing capacity. This is in agreement with the first hypothesis. In 2011, four VSPPs in Roi Et Province needed 1,000 tons/day of rice husk biomass. The results of the study on the second and the third rice mill group found that they can produce 1,095 tons/day of rice husk biomass. So, the rice husk biomass utilization percentage was 91.32 % of rice husk biomass production. It can be concluded that in 2011 the total rice husk biomass production can support the establishment of four VSPPs with capacities of ≤ 10 MW only. For the first rice mill group, the research showed that rice mills were scattered over the study area. The results of spatial data analysis for rice husk biomass collection, using radiuses of 5, 10, 15, and 20 km by Arc GIS 9.3.1 found, that the total rice husk biomass was 740.25 tons/day. This counted the reserved raw material that was not used for generating electricity. The assessment of the long-term potential production of paddy volume and rice husk biomass in Roi-Et Province was conducted by collecting paddy production statistics within the last 5 years (2007-2011). It was found that average paddy production was 980,347.89 tons/year for an average rice husk biomass of 245,086.97 tons/year. The total demand of rice husk biomass of four VSPPs was 365,000 tons/year. Therefore, it can be concluded that the outcome of study confirms the second hypothesis. The recommendations from this study are that rice husk biomass supply chain management should be established for raw material shortage prevention, and rice husk biomass prices should be controlled, and Adder's extension period should be provided by the government due to the risk of raw material shortage.
การประเมินศักยภาพชีวมวลประเภทแกลบเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าขนาดเล็กใน จังหวัดร้อยเอ็ด วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาศักยภาพเชิงปริมาณวัตถุดิบแกลบโดยทำการวิเคราะห์ประเมิน สถานภาพการใช้แกลบการผลิตในกลุ่มโรงสี ภายใต้สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ (1) ปริมาณแกลบที่ใช้เพื่อการผลิต กระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าขนาดเล็กโครงการศึกษานำร่องมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการในปีที่ทำการศึกษา (2554) ข้อที่ (2) ความมั่นคงเชิงปริมาณข้าวเปลือกและผลผลิตแกลบในจังหวัดร้อยเอ็ดไม่เพียงพอต่อความ ต้องการในระยะยาว ทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโรงสีข้าวแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 โรงสีกำลังการ ผลิต 1 - 9 ตัน/วันจำนวน 568 โรง กลุ่มที่ 2 โรงสีกำลังการผลิต 10 - 80 ตัน/วันจำนวน 19 โรง กลุ่มที่ 3 โรงสี กำลังการผลิต 81 - 1,650 ตัน/วันจำนวน 12 โรง ผลการศึกษานำร่องบริษัทโรงไฟฟ้าศรีแสงดาวไบโอเพาเวอร์ จำกัด กำลังการผลิต 9.0 Mw. ใช้แกลบจำนวน 250 ตัน/วัน มีโรงสีโครงข่ายวัตถุดิบ 3 โรง มีผลผลิตแกลบจำนวน 387.5 ตัน/วัน ปริมาณแกลบที่ใช้ในโรงไฟฟ้ามีอัตราส่วนร้อยละ 64.51 % ตามสมมติฐานการวิจัยข้อที่ (1)ในปี พ.ศ. 2554 วัตถุดิบแกลบที่ใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 4 โรง ใช้แกลบจำนวน 1,000 ตัน/วัน จากผลการศึกษากลุ่มโรงสีกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 พบว่ามีปริมาณแกลบผลิตจำนวน 1,095 ตัน/วัน แกลบที่ใช้ใน โรงไฟฟ้ามีอัตราส่วนร้อยละ 91.32 % ปริมาณแกลบที่ผลิตได้ในปี พ.ศ.2554 ที่ทำการศึกษาสรุปว่าศักยภาพเชิง ปริมาณวัตถุดิบแกลบ จังหวัดร้อยเอ็ด สามารถตั้งโรงไฟฟ้าขนาดเล็กกำลังการผลิต ≤ 10 Mw. ในพื้นที่ได้ไม่เกิน 4 โรง ส่วนผลการศึกษาโรงสีในกลุ่ม 1 พบว่ามีแหล่งที่ตั้งโรงสีกระจายในพื้นที่การศึกษา ผลการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ จุดศูนย์กลางการรวบรวมแกลบในรัศมี ระยะทาง 5,10,15,20 กิโลเมตรโดยใช้โปรแกรม Arc GIS 9.3.1 วิเคราะห์ พบว่ามีผลผลิตแกลบรวม 740.25 ตันต่อวัน เป็นแหล่งทรัพยากรวัตถุดิบแกลบสำรองยังไม่นำมาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า การประเมินศักยภาพความมั่นคงของปริมาณข้าวเปลือกและผลผลิตแกลบสถิติผลผลิตข้าวเปลือก 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2550-2554 ค่าเฉลี่ย(maen) พบว่า ผลผลิตข้าวเปลือกเฉลี่ยจำนวน 980,347.89 ตัน/ปี ค่าแกลบ เฉลี่ย จำนวน 245,086.97 ตัน/ปี แต่โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก จำนวน 4 โรงในพื้นที่การศึกษา พบว่าใช้แกลบผลิตไฟฟ้า จำนวน 355,000 ตัน/ปี จากผลการวิเคราะห์สอดคล้องกับสมมติฐานข้อ (2) จากผลการวิเคราะห์มีข้อเสนอแนะว่า ควรมีระบบโครงข่ายวัตถุดิบประเภทแกลบ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันการขาดแคลนวัตถุดิบ ภาครัฐควรกำหนด นโยบายการควบคุมราคาแกลบและขยายเวลาการเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) เพราะยังมีปัจจัยความเสี่ยงด้าน วัตถุดิบ
การประเมินศักยภาพชีวมวลประเภทแกลบเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าขนาดเล็กใน จังหวัดร้อยเอ็ด วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาศักยภาพเชิงปริมาณวัตถุดิบแกลบโดยทำการวิเคราะห์ประเมิน สถานภาพการใช้แกลบการผลิตในกลุ่มโรงสี ภายใต้สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ (1) ปริมาณแกลบที่ใช้เพื่อการผลิต กระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าขนาดเล็กโครงการศึกษานำร่องมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการในปีที่ทำการศึกษา (2554) ข้อที่ (2) ความมั่นคงเชิงปริมาณข้าวเปลือกและผลผลิตแกลบในจังหวัดร้อยเอ็ดไม่เพียงพอต่อความ ต้องการในระยะยาว ทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโรงสีข้าวแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 โรงสีกำลังการ ผลิต 1 - 9 ตัน/วันจำนวน 568 โรง กลุ่มที่ 2 โรงสีกำลังการผลิต 10 - 80 ตัน/วันจำนวน 19 โรง กลุ่มที่ 3 โรงสี กำลังการผลิต 81 - 1,650 ตัน/วันจำนวน 12 โรง ผลการศึกษานำร่องบริษัทโรงไฟฟ้าศรีแสงดาวไบโอเพาเวอร์ จำกัด กำลังการผลิต 9.0 Mw. ใช้แกลบจำนวน 250 ตัน/วัน มีโรงสีโครงข่ายวัตถุดิบ 3 โรง มีผลผลิตแกลบจำนวน 387.5 ตัน/วัน ปริมาณแกลบที่ใช้ในโรงไฟฟ้ามีอัตราส่วนร้อยละ 64.51 % ตามสมมติฐานการวิจัยข้อที่ (1)ในปี พ.ศ. 2554 วัตถุดิบแกลบที่ใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 4 โรง ใช้แกลบจำนวน 1,000 ตัน/วัน จากผลการศึกษากลุ่มโรงสีกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 พบว่ามีปริมาณแกลบผลิตจำนวน 1,095 ตัน/วัน แกลบที่ใช้ใน โรงไฟฟ้ามีอัตราส่วนร้อยละ 91.32 % ปริมาณแกลบที่ผลิตได้ในปี พ.ศ.2554 ที่ทำการศึกษาสรุปว่าศักยภาพเชิง ปริมาณวัตถุดิบแกลบ จังหวัดร้อยเอ็ด สามารถตั้งโรงไฟฟ้าขนาดเล็กกำลังการผลิต ≤ 10 Mw. ในพื้นที่ได้ไม่เกิน 4 โรง ส่วนผลการศึกษาโรงสีในกลุ่ม 1 พบว่ามีแหล่งที่ตั้งโรงสีกระจายในพื้นที่การศึกษา ผลการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ จุดศูนย์กลางการรวบรวมแกลบในรัศมี ระยะทาง 5,10,15,20 กิโลเมตรโดยใช้โปรแกรม Arc GIS 9.3.1 วิเคราะห์ พบว่ามีผลผลิตแกลบรวม 740.25 ตันต่อวัน เป็นแหล่งทรัพยากรวัตถุดิบแกลบสำรองยังไม่นำมาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า การประเมินศักยภาพความมั่นคงของปริมาณข้าวเปลือกและผลผลิตแกลบสถิติผลผลิตข้าวเปลือก 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2550-2554 ค่าเฉลี่ย(maen) พบว่า ผลผลิตข้าวเปลือกเฉลี่ยจำนวน 980,347.89 ตัน/ปี ค่าแกลบ เฉลี่ย จำนวน 245,086.97 ตัน/ปี แต่โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก จำนวน 4 โรงในพื้นที่การศึกษา พบว่าใช้แกลบผลิตไฟฟ้า จำนวน 355,000 ตัน/ปี จากผลการวิเคราะห์สอดคล้องกับสมมติฐานข้อ (2) จากผลการวิเคราะห์มีข้อเสนอแนะว่า ควรมีระบบโครงข่ายวัตถุดิบประเภทแกลบ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันการขาดแคลนวัตถุดิบ ภาครัฐควรกำหนด นโยบายการควบคุมราคาแกลบและขยายเวลาการเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) เพราะยังมีปัจจัยความเสี่ยงด้าน วัตถุดิบ
Description
Sustainable Environment Planning (Mahidol University 2013)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Sustainable Environment Planning
Degree Grantor(s)
Mahidol University