The ideal Thailand music institute in higher education in the 21st Century
Issued Date
2023
Copyright Date
2017
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 165 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Saya Thuntawech The ideal Thailand music institute in higher education in the 21st Century. Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89563
Title
The ideal Thailand music institute in higher education in the 21st Century
Alternative Title(s)
สถาบันดนตรีระดับอุดมศึกษาในอุดมคติสำหรับประเทศไทยในศตวรรษที่ 21
Author(s)
Abstract
This research study aimed to explore the aspirations of the ideal higher education music institute in 21st century Thailand based on philosophy perspectives. This was a qualitative approach design study whose instruments used to collect data were a documentary cataloguing form and a semi-structured interview schedule. The participants were 11 administrators from higher education music institutes in Thailand who were selected through purposive sampling. The results showed that the ideal music institute in Thailand in the 21st century could be explained into two main sections as follows: 1. The elements of the ideal music institute contain three parts; 1) Administration and Management: This section deals with four major issues including philosophy of the institute, styles of the institute, administration strategies, and finances 2) Curriculum and Instruction: This section is concerned with levels of the study, purposes of the programs, contents, teaching styles, evaluation and assessment, music activities and services 3) Resources including buildings and Environment (well-prepared equipment, auditorium and performance stages, practice rooms, and recording studio), library and databases (textbooks, music scores and manuscripts, recordings, and online databases), human Resources (faculties, staff, students, and alumni). 2. The factors of changes: These are three major issues which transform the institute to succeed and to survive in the changing world; 1) social needs include diversity and equity, rapid changes, population structure, economics, technology and innovations 2) world excellences include ASEAN and world competition, world rankings, and labor markets 3) Policies include government policies, educational qualification assurances, and cooperation policies. These three factors affected the institution in the following ways: changes, lifelong learning, preservation, creativity, innovations, local wisdom-based knowledge, and diversity.
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจลักษณะที่พึงประสงค์ของสถาบันดนตรีระดับอุดมศึกษาในอุดมคติของประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 ตามมุมมองทางปรัชญา โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Approach) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกเอกสาร และแบบสัมภาษณ์ โดยประชากรในงานงานวิจัยด้านเอกสาร ได้แก่ สถาบันการศึกษาในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรดนตรีในระดับอุดมศึกษา และ กลุ่มตัวอย่างสำหรับการสัมภาษณ์ ได้แก่ผู้บริหารสถาบันดนตรีระดับอุดมศึกษาที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 11 คน โดยผลวิจัยที่ได้ พบว่า สถาบันดนตรีในอุดมคติประกอบด้วยองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 1. องค์ประกอบของสถาบันดนตรีที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยสามประเด็นหลักได้แก่ 1) การ บริหารจัดการประกอบด้วยปรัชญาของสถาบัน รูปแบบของสถาบัน ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ และ งบประมาณ 2) หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย ระดับชั้นที่เปิดสอน เนื้อหาที่สอน รูปแบบการสอน การวัด และประเมินผล กิจกรรมทางดนตรีและการบริการวิชาการ 3) ทรัพยากรต่าง ๆ ประกอบด้วยอาคารเรียนและสภาพแวดล้อม (ความพร้อมของอุปกรณ์ต่าง ๆ ห้องประชุมและสถานที่จัดแสดงดนตรี ห้องซ้อม ดนตรี และห้องอัดเสียง) ห้องสมุดและฐานข้อมูลสำหรับการเรียนรู้ (ตำราและหนังสือเรียน โน้ตเพลงและหลักฐานต่าง ๆ สื่อบันทึกเสียง และฐานข้อมูลออนไลน์) และทรัพยากรบุคคล (คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และ ศิษย์เก่า) 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสถาบันดนตรีที่ส่งผลให้สถาบันสามารถดำรงอยู่ได้ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงของโลก ได้แก่ 1) ความต้องการสังคม ประกอบด้วย ความหลากหลายและความเท่าเทียม การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โครงสร้างของประชากร สภาพเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 2) ความเป็นเลิศ ระดับโลก ประกอบด้วย การแข่งขันในระดับอาเซียนและนานาชาติ การจัดอันดับโลก และตลาดแรงงาน 3) นโยบายต่าง ๆ ประกอบด้วย นโยบายของรัฐบาล การประกันคุณภาพทางการศึกษา และนโยบายความร่วมมือ ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ นี้ส่งผลต่อสถาบันในฐานะประเด็นที่ควรคำนึงถึง ได้แก่ ความเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ตลอดชีวิต การอนุรักษ์ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม องค์ความรู้จากท้องถิ่น และความหลากหลายที่เกิดขึ้น
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจลักษณะที่พึงประสงค์ของสถาบันดนตรีระดับอุดมศึกษาในอุดมคติของประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 ตามมุมมองทางปรัชญา โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Approach) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกเอกสาร และแบบสัมภาษณ์ โดยประชากรในงานงานวิจัยด้านเอกสาร ได้แก่ สถาบันการศึกษาในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรดนตรีในระดับอุดมศึกษา และ กลุ่มตัวอย่างสำหรับการสัมภาษณ์ ได้แก่ผู้บริหารสถาบันดนตรีระดับอุดมศึกษาที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 11 คน โดยผลวิจัยที่ได้ พบว่า สถาบันดนตรีในอุดมคติประกอบด้วยองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 1. องค์ประกอบของสถาบันดนตรีที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยสามประเด็นหลักได้แก่ 1) การ บริหารจัดการประกอบด้วยปรัชญาของสถาบัน รูปแบบของสถาบัน ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ และ งบประมาณ 2) หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย ระดับชั้นที่เปิดสอน เนื้อหาที่สอน รูปแบบการสอน การวัด และประเมินผล กิจกรรมทางดนตรีและการบริการวิชาการ 3) ทรัพยากรต่าง ๆ ประกอบด้วยอาคารเรียนและสภาพแวดล้อม (ความพร้อมของอุปกรณ์ต่าง ๆ ห้องประชุมและสถานที่จัดแสดงดนตรี ห้องซ้อม ดนตรี และห้องอัดเสียง) ห้องสมุดและฐานข้อมูลสำหรับการเรียนรู้ (ตำราและหนังสือเรียน โน้ตเพลงและหลักฐานต่าง ๆ สื่อบันทึกเสียง และฐานข้อมูลออนไลน์) และทรัพยากรบุคคล (คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และ ศิษย์เก่า) 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสถาบันดนตรีที่ส่งผลให้สถาบันสามารถดำรงอยู่ได้ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงของโลก ได้แก่ 1) ความต้องการสังคม ประกอบด้วย ความหลากหลายและความเท่าเทียม การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โครงสร้างของประชากร สภาพเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 2) ความเป็นเลิศ ระดับโลก ประกอบด้วย การแข่งขันในระดับอาเซียนและนานาชาติ การจัดอันดับโลก และตลาดแรงงาน 3) นโยบายต่าง ๆ ประกอบด้วย นโยบายของรัฐบาล การประกันคุณภาพทางการศึกษา และนโยบายความร่วมมือ ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ นี้ส่งผลต่อสถาบันในฐานะประเด็นที่ควรคำนึงถึง ได้แก่ ความเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ตลอดชีวิต การอนุรักษ์ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม องค์ความรู้จากท้องถิ่น และความหลากหลายที่เกิดขึ้น
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
College of Music
Degree Discipline
Music
Degree Grantor(s)
Mahidol University