Impact evaluation from desalination project on marine ecosystem in terms of local community and tourism industry in Tao Island
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 149 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Piyawut Somwong Impact evaluation from desalination project on marine ecosystem in terms of local community and tourism industry in Tao Island. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92370
Title
Impact evaluation from desalination project on marine ecosystem in terms of local community and tourism industry in Tao Island
Alternative Title(s)
การประเมินผลกระทบของโครงการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเลที่เกี่ยวข้องกับประชาชนในท้องถิ่นและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเกาะเต่า
Author(s)
Abstract
Development of fresh water resource, such as desalination is necessary for tourism in Tao Island, but it affects ecosystem. The deterioration of the ecosystem decreases in tourist satisfaction. Also, it will decrease revenue of local people. Choice experiment (CE), an economic tool, was used because this tool can valuate willingness to pay for multiple characteristics at the same time. The valuation used characteristics of the sample and characteristics of attribute, such as coral reef restoration, increase sea grass breeding and sea turtle conservation which analyzed the Independence of Irrelevant Alternatives: IIA from a conditional logit model (CLM). It will receive characteristics that are significant in willingness to pay from local people and tourist population. The results showed that the sample of local people and tourists were willing to pay for taking care of the ecosystem for 3,394 and 2,506 baht per person per year, respectively. The economic value was calculated based on local people and tourist samples, which was 6,950,912 baht per year and 801.9 million baht per year respectively. These values reflected the willingness to pay in avoiding the impact on the marine ecosystem from the desalination project.
การพัฒนาแหล่งน้ำจืดเช่น การนำเทคโนโลยีผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเลเข้ามาใช้เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการท่องเที่ยวของเกาะเต่าแต่เทคโนโลยีนี้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ ซึ่งความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศจะส่งผลให้ความพึงพอใจในการท่องเที่ยวลดลงและส่งผลให้รายได้ของประชาชนลดลงตามไปด้วย การศึกษาครั้งนี้อาศัยเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เรียกว่าวิธีการทดลองทางเลือก (Choice experiment: CE) ที่สามารถประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายได้หลายคุณลักษณะพร้อมกัน โดยนำคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างและคุณลักษณะของทางเลือก เช่น การฟื้นฟูปะการัง การฟื้นฟูหญ้าทะเล และการอนุรักษ์เต่าทะเล มาวิเคราะห์หาทางเลือกที่ไม่มีความสัมพันธ์กันด้วยแบบจำลองคอนดิชันนอลโลจิต (conditional logit model: CLM) เพื่อหาความเต็มใจจ่ายและคุณลักษณะที่มีนัยสำคัญทางสถิติต่อความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างประชาชนและนักท่องเที่ยว ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างประชาชนและกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวมีความเต็มใจจ่ายเพื่อสนับสนุนการดูแลและรักษาระบบนิเวศเท่ากับ 3,394 และ 2,506 บาทต่อคนต่อปี คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์เท่ากับ 6,950,912 บาท ต่อปี และ 801.9 ล้านบาท ต่อปี ตามลำดับ ซึ่งเป็นมูลค่าที่สะท้อนให้เห็นถึงความเต็มใจจ่ายเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลจากโครงการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล
การพัฒนาแหล่งน้ำจืดเช่น การนำเทคโนโลยีผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเลเข้ามาใช้เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการท่องเที่ยวของเกาะเต่าแต่เทคโนโลยีนี้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ ซึ่งความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศจะส่งผลให้ความพึงพอใจในการท่องเที่ยวลดลงและส่งผลให้รายได้ของประชาชนลดลงตามไปด้วย การศึกษาครั้งนี้อาศัยเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เรียกว่าวิธีการทดลองทางเลือก (Choice experiment: CE) ที่สามารถประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายได้หลายคุณลักษณะพร้อมกัน โดยนำคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างและคุณลักษณะของทางเลือก เช่น การฟื้นฟูปะการัง การฟื้นฟูหญ้าทะเล และการอนุรักษ์เต่าทะเล มาวิเคราะห์หาทางเลือกที่ไม่มีความสัมพันธ์กันด้วยแบบจำลองคอนดิชันนอลโลจิต (conditional logit model: CLM) เพื่อหาความเต็มใจจ่ายและคุณลักษณะที่มีนัยสำคัญทางสถิติต่อความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างประชาชนและนักท่องเที่ยว ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างประชาชนและกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวมีความเต็มใจจ่ายเพื่อสนับสนุนการดูแลและรักษาระบบนิเวศเท่ากับ 3,394 และ 2,506 บาทต่อคนต่อปี คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์เท่ากับ 6,950,912 บาท ต่อปี และ 801.9 ล้านบาท ต่อปี ตามลำดับ ซึ่งเป็นมูลค่าที่สะท้อนให้เห็นถึงความเต็มใจจ่ายเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลจากโครงการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University