Success factors in management : a case study of the Sufficiency Economy Learning Center, The Office of The Royal Development Project Board
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 151 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Livable City Management and Environmental Sustainability))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Judaporn Saelee Success factors in management : a case study of the Sufficiency Economy Learning Center, The Office of The Royal Development Project Board. Thesis (M.Sc. (Livable City Management and Environmental Sustainability))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92174
Title
Success factors in management : a case study of the Sufficiency Economy Learning Center, The Office of The Royal Development Project Board
Alternative Title(s)
ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This mixed method research design aimed to study success factors in management of the sufficiency economy learning center.The sample was a group of 192 people who have experience related to management and was selected by Yamane formula. The instrument for collecting data were questionnaires and semi-structured interview. The data analysis use were Descriptive Statistics, Inferential Statistics, and Content Analysis. The research revealed that 1) personal factors, i.e. gender, age, education levels, and occupation had relationship with leadership, teamwork, social network establishment, technology supporting learning, product management and marketing, and social and environmental responsibility but did not correlate with being a learning organization. 2) The sample did not give importance to teamwork in a tangible manner and they did not understand being a learning organization, and no sufficient supporting budget was available for purchasing technological devices. 3) A small number of government agencies that support the operation of the learning center, causing the development of the learning center relied on its own potential and did not have outstanding directions. So these results could be used to develop operational guidelines and a role model of learning center management in the future
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นกลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 192 คน จากการกำหนดขนาดแบบยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทางสถิติและการวิเคราะห์เนื้อหาด้วยสถิติเชิงพรรณนาในรูปค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน โดยใช้ Chi-Square เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม การสร้างเครือข่ายทางสังคม เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ การจัดการผลผลิตและการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 2) กลุ่มตัวอย่างไม่ให้ความสำคัญกับการทางานเป็นทีมอย่างเป็นรูปธรรม มีความไม่เข้าใจการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และไม่มีงบประมาณสนับสนุนเพียงพอในการจัดซื้ออุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี และ 3) หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนการทำงานของศูนย์เรียนรู้น้อย ทั้งในด้านงบประมาณ การพัฒนาหลักสูตร การจัดทำเอกสารเผยแพร่ และการปรับปรุงสถานที่ฝึกอบรมทำให้การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ได้ตามศักยภาพที่มีและไม่มีทิศทางที่ชัดเจน ผลการศึกษานี้สามารถพัฒนาเป็นแนวทางการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบในอนาคต
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นกลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 192 คน จากการกำหนดขนาดแบบยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทางสถิติและการวิเคราะห์เนื้อหาด้วยสถิติเชิงพรรณนาในรูปค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน โดยใช้ Chi-Square เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม การสร้างเครือข่ายทางสังคม เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ การจัดการผลผลิตและการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 2) กลุ่มตัวอย่างไม่ให้ความสำคัญกับการทางานเป็นทีมอย่างเป็นรูปธรรม มีความไม่เข้าใจการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และไม่มีงบประมาณสนับสนุนเพียงพอในการจัดซื้ออุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี และ 3) หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนการทำงานของศูนย์เรียนรู้น้อย ทั้งในด้านงบประมาณ การพัฒนาหลักสูตร การจัดทำเอกสารเผยแพร่ และการปรับปรุงสถานที่ฝึกอบรมทำให้การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ได้ตามศักยภาพที่มีและไม่มีทิศทางที่ชัดเจน ผลการศึกษานี้สามารถพัฒนาเป็นแนวทางการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบในอนาคต
Description
Livable City Management and Environmental Sustainability (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Livable City Management and Environmental Sustainability
Degree Grantor(s)
Mahidol University