The effectiveness of intervention program to enhance protective skills against game addidiction among 4th-6th grade students
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 130 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Punnapat Thanaariyapaisan The effectiveness of intervention program to enhance protective skills against game addidiction among 4th-6th grade students. Thesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94013
Title
The effectiveness of intervention program to enhance protective skills against game addidiction among 4th-6th grade students
Alternative Title(s)
การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6
Author(s)
Abstract
This research used a quasi-experimental research design to study the effectiveness of an intervention program to enhance protective skills against game addiction among 4th-6th grade students in Wat Ratsattatam School, elementary school, Bangkok. A total of 15 students participated in this study. The program was provide for one hour per day; a total of 12 sessions were completed. Gam Addiction protection Scale: Game-P child version was used before and immediately after the end of program. Data were analyzed by using frequency distribution, percentage, mean, median, quartile deviation and The Wilcoxon Matched-Pairs signed-Ranks Test. The result revealed that before the program, the students had a low level of protection against game addiction immediately after ending the program, the students, had a higher level of protection against game addiction. In a perspective, protection against game addiction scores were significantly higher than before the program (p-value <.05) especially child factors, family and parenting factors. The effectiveness of the intervention program to enhance protective skills against game addiction among 4th-6th grade students increased protection against game addiction. Accordingly teachers or staff in schools could use this program to help the students at risk of game addiction.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คน เข้าร่วมโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกม 12 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง โดยการทแบบวัดภูมิคุ้มกันการติดเกม ฉบับเด็ก (Game Addiction Protection Scale: Game-P) ก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ และ The Wilcoxon Matched-Pairs singed-Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการทดลองนักเรียนมีภูมิคุ้มกันการติดเกมในระดับต่ำ หลังจากสิ้นสุดการทดลอง นักเรียนมีภูมิคุ้มกันการติดเกมเพิ่มข้นเป็นระดับปานกลาง มีคะแนนภูมิคุ้มกันการติดเกมโดยภาพรวมสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า คะแนนภูมิคุ้มกันการติดเกมปัจจัยเกี่ยวกับตัวเด็ก ปัจจัยครอบครัวและการเลี้ยงดูสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยแสดงว่า โปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สามารถช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันการติดเกมให้กับนักเรียนได้ ดังนั้นครูหรือบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลนักเรียนที่มีความเสี่ยงในการติดเกมจึงสามารถนำผลการวิจัยนี้ไปจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมให้กับนักเรียนต่อไปได้
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คน เข้าร่วมโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกม 12 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง โดยการทแบบวัดภูมิคุ้มกันการติดเกม ฉบับเด็ก (Game Addiction Protection Scale: Game-P) ก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ และ The Wilcoxon Matched-Pairs singed-Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการทดลองนักเรียนมีภูมิคุ้มกันการติดเกมในระดับต่ำ หลังจากสิ้นสุดการทดลอง นักเรียนมีภูมิคุ้มกันการติดเกมเพิ่มข้นเป็นระดับปานกลาง มีคะแนนภูมิคุ้มกันการติดเกมโดยภาพรวมสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า คะแนนภูมิคุ้มกันการติดเกมปัจจัยเกี่ยวกับตัวเด็ก ปัจจัยครอบครัวและการเลี้ยงดูสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยแสดงว่า โปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สามารถช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันการติดเกมให้กับนักเรียนได้ ดังนั้นครูหรือบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลนักเรียนที่มีความเสี่ยงในการติดเกมจึงสามารถนำผลการวิจัยนี้ไปจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมให้กับนักเรียนต่อไปได้
Description
Child, Adolescent and Family Psychology (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Child, Adolescent and Family Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University