Access to justice for deaf persons in Thailand : focus on filing a criminal complaint with inquiry officers

dc.contributor.advisorSunee Kanyajit
dc.contributor.advisorSrisombat Chokprajakchat
dc.contributor.advisorThiti Mahacharoen
dc.contributor.advisorSupin Nayong
dc.contributor.authorRungrapeephan Ujawartee
dc.date.accessioned2023-09-11T03:57:47Z
dc.date.available2023-09-11T03:57:47Z
dc.date.copyright2016
dc.date.created2016
dc.date.issued2023
dc.description.abstractThe aim of this qualitative research were to (1) examine experience, obstacle and problems on deaf persons in terms of access to criminal justice process, in particular prosecution informed the inquiry level, (2) survey opinions and needs of deaf persons, opinions and suggestions from guardian, inquiry officer, and expert or scholar who had direct experience and knowledge with deaf persons and criminal justice, and (3) present effective ways and mechanisms to aid deaf persons on access to criminal justice in Thailand in accordance with requirement of deaf persons. The research used purposive sampling and in-depth interview was conducted to twenty participants who were 5 deaf persons, 5 guardians, 5 inquiry officers, and 5 experts or scholars. It was found that obstacles and problems for deaf persons in filing criminal complaints with inquiry officers were (1) communication, (2) absence of sign language interpreter to assist communication, (3) unawareness of deaf person in their own legal rights, (4) lack of knowledge of sign language interpreter in law and justice process, (5) inadequate number of sign language interpreter for services, (6) unfamiliarity of police officers with languages and cultures of deaf person, (7) insufficient ability and comprehension of police officer regarding sign language, and (8) absence of expert or sign language interpreter in police stations. The finally recommendations for assistance on access to justice for deaf persons in Thailand are put forward; (1) sign language interpreter or TTRS shall be provided in police stations, (2) inquiry officer shall take training program of basic sign language, (3) priority lane shall be established for deaf persons, (4) a handbook for deaf persons shall be prepared for inquiry officers during prosecution, (5) deaf persons shall be provided with technology such as television and social media for education of law and justice process, (6) the Royal Thai Police shall contribute and appoint an expert interpreter of sign language, (7) it shall provide priority lanes in legal consultant and justice process for deaf persons, (8) video recording shall be conducted in inquiry stage, (9) female inquiry officer and sign language interpreter shall be involved during the investigation of sexual offences
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ของคนพิการทางการได้ยินในการเข้าถึง กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยเฉพาะการแจ้งความ ดำเนินคดีในชั้นพนักงานสอบสวน รวมทั้งความคิดเห็นและความต้องการของคนพิการทางการได้ยินในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง พนักงานสอบสวน ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการที่มีองค์ความรู้และประสบการณ์ เกี่ยวข้องกับคนพิการทางการได้ยินและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อเสนอแนะแนวทาง/รูปแบบการให้ความ ช่วยเหลือคนพิการทางการได้ยินในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทยให้เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะความ ต้องการจำเป็นที่เป็นพิเศษของคนพิการทางการได้ยิน ดำเนินการวิจัยโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจง 4 กลุ่ม คือ คนพิการทางการได้ยิน ผู้ปกครอง พนักงานสอบสวน และผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิชาการใช้การ สัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 กลุ่ม รวมทั้งสิ้นจำนวน 20 คน ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาและอุปสรรคของคนพิการทางการได้ยินในการแจ้งความดำเนินคดีในชั้น พนักงานสอบสวนคือ 1) ปัญหาเรื่องการสื่อสาร 2) ไม่มีล่ามภาษามือเพื่อช่วยในการสื่อสาร 3) คนพิการทางการได้ยินไม่รู้ สิทธิของตนเองตามกฎหมาย 4) ล่ามภาษามือไม่มีความรู้เฉพาะทางด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 5) ล่ามภาษามือ ไม่เพียงพอต่อการให้บริการ 6) ความไม่เข้าใจของตำรวจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของคนพิการทางการได้ยิน 7) ตำรวจ ไม่มีทักษะและความรู้เกี่ยวกับภาษามือ 8) ไม่มีผู้เชี่ยวชาญหรือล่ามภาษามือประจำสถานีตำรวจ ข้อเสนอแนะและแนวทางในการให้ความช่วยเหลือคนพิการทางการได้ยินในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาไทย คือ 1) ควรมีล่ามภาษามือหรือตู้บริการล่ามภาษามือ TTRS ประจำสถานีตำรวจ 2) พนักงานสอบสวนควรได้รับ การฝึกอบรมการใช้ภาษามือเบื้องต้น 3) ควรมีช่องทางพิเศษสำหรับให้บริการคนพิการทางการได้ยิน 4)ควรจัดทำคู่มือ วิธีการปฏิบัติสำหรับพนักงานสอบสวนเมื่อมีคนพิการทางการได้ยินเข้าแจ้งความ 5) ควรมีสื่อให้ความรู้ด้านกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรมทางโทรทัศน์และ Social Media สำหรับคนพิการทางการได้ยิน 6) สำนักงานตำรวจแห่งชาติควรจัดหา และแต่งตั้งล่ามภาษามือพิเศษเฉพาะทาง 7) ควรมีช่องทางการขอรับคำปรึกษาด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สำหรับคนพิการทางการได้ยิน 8) ควรมีการบันทึกวิดิโอในระหว่างการสอบสวน 9)ควรมีพนักงานสอบสวนหญิงและล่าม ภาษามือเพศหญิงร่วมในการสอบสวนในคดีที่เกี่ยวกับเพศ
dc.format.extentviii, 131 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2016
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89797
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectDeaf
dc.subjectJustice, Administration of -- Thailand
dc.titleAccess to justice for deaf persons in Thailand : focus on filing a criminal complaint with inquiry officers
dc.title.alternativeการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของคนพิการทางการได้ยินในประเทศไทย : ศึกษากรณีการแจ้งความดำเนินคดีในชั้นพนักงานสอบสวน
dcterms.accessRightsrestricted access
mu.link.internalLinkhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd522/5336816.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Social Sciences and Humanities
thesis.degree.disciplineCriminology, Justice Administration and Society
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections