การวิเคราะห์เรื่องเล่าความเทิดทูนที่มีต่อในหลวงรัชกาลที่ 9 : การจัดวางตำแหน่งแห่งที่ ของแรงงานกะเหรี่ยงในสภาวะข้ามแดน

dc.contributor.advisorณรงค์ อาจสมิติ
dc.contributor.advisorศิริจิต สุนันต๊ะ
dc.contributor.authorสิริภัทร นาคนาม
dc.date.accessioned2024-01-09T01:06:14Z
dc.date.available2024-01-09T01:06:14Z
dc.date.copyright2562
dc.date.created2562
dc.date.issued2567
dc.descriptionวัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562)
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้ความหมายความเทิดทูนในหลวงรัชกาลที่ 9 ของแรงงานกะเหรี่ยงข้ามชาติ ตลอดจนวิเคราะห์การประกอบสร้างความหมายของเรื่องเล่า และการวิเคราะห์การจัดวางตำแหน่งแห่งที่ของแรงงานในสภาวะข้ามพรมแดนของแรงงานกะเหรี่ยงข้ามชาติแบบเจาะจงจำนวน 13 คน การศึกษาพบว่าแรงงานกะเหรี่ยงให้ความหมายของความเทิดทูนในหลวงในฐานะที่เป็นปางหนึ่งของยวา สมมติเทพในโลกทัศน์ที่ถูกถ่ายทอดผ่านตำนานของกะเหรี่ยง ผู้จะมาช่วยเหลือให้พ้นจากความทุกข์ยากที่กะเหรี่ยงต้องเผชิญกับการถูกมองว่าเป็นอื่นมาตลอดประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้การเล่าเรื่องของแรงงานกะเหรี่ยงเองตลอดจนปฏิบัติการในชีวิตประจำวันที่แสดงออกถึงความเทิดทูนในหลวงรัชกาลที่ 9 นั้นเป็นไปเพื่อยืนยันตัวตนความเป็นกะเหรี่ยงของตนเอง และเป็นกะเหรี่ยงโดยเลือกจะเป็นพสกนิกรของในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งแรงงานมองว่ามีสถานะความเป็นมนุษย์ที่ดีกว่าการเป็นพลเมืองของเมียนมา
dc.description.abstractThis thesis aims to investigate the narratives of allegiance to King Rama IX among Burmese-Karen migrant workers in Kamphaeng Phet province, Thailand. Through in-depth interviews with 13 Burmese-Karen migrant workers, the study reveals the way in which the migrants position themselves in Thai society. Each participant expresses his/her admiration and respect for King Rama IX. I argue that through the narratives of loyalty towards King Rama IX, Burmese-Karen migrant workers negotiate their place in both Burmese and Thai societies. As ethnic Karen, they position themselves as neither Thai nor Burmese yet demand recognition as worthy and dignified members of both societies. By submitting to the Thai king, Burmese-Karen migrants assert that they deserve a better life in Thailand
dc.format.extentก-ซ, 109 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2562
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92055
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectความจงรักภักดีในวรรณกรรม
dc.subjectเอกลักษณ์ทางสังคม
dc.titleการวิเคราะห์เรื่องเล่าความเทิดทูนที่มีต่อในหลวงรัชกาลที่ 9 : การจัดวางตำแหน่งแห่งที่ ของแรงงานกะเหรี่ยงในสภาวะข้ามแดน
dc.title.alternativeAnalyzing the narratives of admiration for the King Bhumibhol Adulyadej : self-positioning of Burmese Karen migrants in transnational space
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/555/5736646.pdf
thesis.degree.departmentสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
thesis.degree.disciplineวัฒนธรรมศึกษา
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files