Using dietary assessment scanning calculator to decrease protein intake in patients with chronic kidney disease
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 74 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Nutrition and Dietetics))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Vararee Panthong Using dietary assessment scanning calculator to decrease protein intake in patients with chronic kidney disease. Thesis (M.Sc. (Nutrition and Dietetics))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92329
Title
Using dietary assessment scanning calculator to decrease protein intake in patients with chronic kidney disease
Alternative Title(s)
การประยุกต์ใช้เครื่องมือสแกนบาร์โค้ด (DiSC application) เพื่อลดการบริโภคโปรตีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Author(s)
Abstract
The protein restriction providing 0.6-0.8 g/kg/day has been recommended for patients with chronic kidney disease (CKD) who do not undergoing dialysis for many years to delay the progression of nephropathy. Dietary Assessment Scanning Calculator (DiSC) application is a dietary assessment application that combines photos and barcode scanning technology together. It is an educational tool that provides the immediate feedback on nutritive value that participants consume comparing with their dietary recommendation. This study was a experimental, with one group repeated measurement to determine the effect of using DiSC application to decrease protein intake to recommend to patients with CKD for 6 months. Thirty-seven adult (age>=18 years) CKD patients stage 3-4 consume protein (> 0.8 g/kg/day) at Ramathibodi and Bhumibol Adulyadej hospitals were included in this study. Nutritional status (anthropometry, biochemistry and clinical) of the participants were assessed. Twenty four hours dietary intake were estimated using DiSC application as well as twenty hours urine were collected to determine protein intake, normalized protein nitrogen appearance (nPNA) and urine creatinine at baseline (month 0) and the end of study (month 6). The results showed that after 6 months the mean protein intake (1.09 ± 0.32, 0.62 ± 0.11 g/kg/day) significantly decreased (p<0.05) whereas eGFR (35.76 ± 12.82, 36.33 ± 13.11 mL/min/1.73 m2 per year) remained stable. It can be anticipate that the rate of kidney function would not decrease more than 4% (eGFR>=4 mL/min/1.73 m2 per year) in 1 year, according to guideline recommendation. Moreover weight, height, BMI and biochemical level (blood urea nitrogen, serum creatinine, and albumin) remained constant through out the study. In conclusion, the low protein educational tool using DiSC application is recommended since it can contribute to low protein intake and can prolong the progression of kidney disease. DiSC application is not only a new technology to assess the dietary intake but also an effective educational tool to help CKD patients to better manage their dietary behavior modification and improve their quality of life.
เพื่อชะลอการเสื่อมของโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยที่ยังไม่ได้ล้างไต การจำกัดการบริโภคโปรตีนให้อยู่ระหว่าง 0.6 - 0.8 กรัม/น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น/วัน เป็นสิ่งที่จำเป็น เครื่องมือสแกนบาร์โค้ด (DiSC application) คือเครื่องมือที่สามารถประเมินการรับประทานอาหารและให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการที่มีการผสมผสานระหว่างการใช้รูปภาพอาหารและการสแกนบาร์โค้ดเข้าด้วยกัน DiSC แอพลิเคชันสามารถแสดงผลข้อมูลของสารอาหารและยังสามารถใช้เป็นสื่อการสอนเพื่อให้คำแนะนำทางโภชนาการกลับได้ทันที วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อวัดผลโดยใช้ DiSC แอพลิเคชันลดการบริโภคโปรตีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบควบคุมเปรียบเทียบก่อนและหลัง โดยมีการประเมินภาวะด้านโภชนาการ ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและลดการบริโภคโปรตีนโดยใช้ DiSC แอพลิเคชัน ควบคู่ไปกับการให้ คำแนะนำกลับทันทีเป็นระยะเวลา 6 เดือน ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 37 คน ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เป็นคนไข้โรคไตเรื้อรังระยะ 3-4 จากรพ.รามาธิบดี และ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ที่มีการบริโภคโปรตีนมากกว่า 0.8กรัม/ น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น/วัน ปริมาณโปรตีนที่บริโภคประเมินได้จากการใช้ DiSC แอพลิเคชัน และ nPNA จากการเก็บปัสสาวะ 24ชั่วโมงซึ่งจะมีการเก็บในเดือนแรกและเดือนที่ 6 ของการศึกษา ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงสถิติพบว่า ในระยะเวลา 6 เดือน ค่าเฉลี่ยของการบริโภคโปรตีนลดลง (1.09 ± 0.32, 0.62 ± 0.1) อย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) ในขณะที่ค่าอัตราการกรองของไตคงที่ ซึ่งอาจทำนายได้ว่าในเวลา 1 ปีค่าอัตราการกรองของไตน่าจะไม่ลดลงเกิน 4% ซึ่งเป็นไปตามข้อแนะนำ นอกจากนั้นน้ำหนักส่วนสูง BMI และ ผลจากการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการพบว่าคงที่ตลอดการศึกษา ผลการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า DiSC แอพลิเคชัน สามารถลดการบริโภคโปรตีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ซึ่งจะช่วยชะลอความเสื่อมของโรคไตได้ยิ่งไปกว่านั้นการใช้ DiSC แอพลิเคชัน จะมีประโยชน์สำหรับทีมสหวิชาชีพหรือนักกำหนดอาหารเพื่อใช้ในการประเมินและให้คำแนะนำการบริโภคอาหารซึ่งมีความสำคัญในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังไต
เพื่อชะลอการเสื่อมของโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยที่ยังไม่ได้ล้างไต การจำกัดการบริโภคโปรตีนให้อยู่ระหว่าง 0.6 - 0.8 กรัม/น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น/วัน เป็นสิ่งที่จำเป็น เครื่องมือสแกนบาร์โค้ด (DiSC application) คือเครื่องมือที่สามารถประเมินการรับประทานอาหารและให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการที่มีการผสมผสานระหว่างการใช้รูปภาพอาหารและการสแกนบาร์โค้ดเข้าด้วยกัน DiSC แอพลิเคชันสามารถแสดงผลข้อมูลของสารอาหารและยังสามารถใช้เป็นสื่อการสอนเพื่อให้คำแนะนำทางโภชนาการกลับได้ทันที วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อวัดผลโดยใช้ DiSC แอพลิเคชันลดการบริโภคโปรตีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบควบคุมเปรียบเทียบก่อนและหลัง โดยมีการประเมินภาวะด้านโภชนาการ ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและลดการบริโภคโปรตีนโดยใช้ DiSC แอพลิเคชัน ควบคู่ไปกับการให้ คำแนะนำกลับทันทีเป็นระยะเวลา 6 เดือน ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 37 คน ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เป็นคนไข้โรคไตเรื้อรังระยะ 3-4 จากรพ.รามาธิบดี และ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ที่มีการบริโภคโปรตีนมากกว่า 0.8กรัม/ น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น/วัน ปริมาณโปรตีนที่บริโภคประเมินได้จากการใช้ DiSC แอพลิเคชัน และ nPNA จากการเก็บปัสสาวะ 24ชั่วโมงซึ่งจะมีการเก็บในเดือนแรกและเดือนที่ 6 ของการศึกษา ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงสถิติพบว่า ในระยะเวลา 6 เดือน ค่าเฉลี่ยของการบริโภคโปรตีนลดลง (1.09 ± 0.32, 0.62 ± 0.1) อย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) ในขณะที่ค่าอัตราการกรองของไตคงที่ ซึ่งอาจทำนายได้ว่าในเวลา 1 ปีค่าอัตราการกรองของไตน่าจะไม่ลดลงเกิน 4% ซึ่งเป็นไปตามข้อแนะนำ นอกจากนั้นน้ำหนักส่วนสูง BMI และ ผลจากการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการพบว่าคงที่ตลอดการศึกษา ผลการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า DiSC แอพลิเคชัน สามารถลดการบริโภคโปรตีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ซึ่งจะช่วยชะลอความเสื่อมของโรคไตได้ยิ่งไปกว่านั้นการใช้ DiSC แอพลิเคชัน จะมีประโยชน์สำหรับทีมสหวิชาชีพหรือนักกำหนดอาหารเพื่อใช้ในการประเมินและให้คำแนะนำการบริโภคอาหารซึ่งมีความสำคัญในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังไต
Description
Nutrition and Dietetics (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Institute of Nutrition
Degree Discipline
Nutrition and Dietetics
Degree Grantor(s)
Mahidol University