ลักษณะเฉพาะทางดนตรีในประเพณีการแห่มังกรของ คณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ธ, 420 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
เชาวลิต เขียวทาสี ลักษณะเฉพาะทางดนตรีในประเพณีการแห่มังกรของ คณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92782
Title
ลักษณะเฉพาะทางดนตรีในประเพณีการแห่มังกรของ คณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์
Alternative Title(s)
Thai-Chinese traditional drumming in dragon dance procession of Nakhonsawan, Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา ประวัติการแห่มังกรและพัฒนาการทางดนตรี บทบาทความสำคัญของกลองและเครื่องดนตรีประกอบในประเพณีแห่มังกรของ คณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ และรูปแบบ เทคนิค และลักษณะเฉพาะทางดนตรีของจังหวะกลองและ เครื่องดนตรีประกอบในประเพณีแห่มังกรของคณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ ใช้วิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ ในแนวทางมนุษยดนตรีวิทยา การรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลเอกสารทั่วไป งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการเก็บข้อมูลดนตรี เพื่อศึกษาในเรื่องของบทบาทความสำคัญและลักษณะเฉพาะของวงดนตรีดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า การแห่มังกรของคณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ โดยมีพัฒนาการด้านจังหวะที่มีผลมาจากปัจจัยของการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเชิดทั้งในการเพิ่มท่าพลิ้วและการปรับลดขั้นตอนในการเชิดท่ามังกรทะยานฟ้าล่าลูกแก้ว ซึ่งส่งผลให้การบรรเลงของวงดนตรีนั้นต้องมีการปรับเปลี่ยนการบรรเลงเพื่อรองรับกับปัจจัยดังกล่าวด้วย การแห่มังกรและการบรรเลงของกลองล้อแฉ ยังมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ความเชื่อ อัตลักษณ์ประจำท้องถิ่น และกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ด้วยลักษณะเฉพาะทางดนตรีอันเป็นเอกลักษณ์ทั้งเทคนิคการตีแปะ รัว กรอ บนรูปแบบการบรรเลงที่วนซ้ำ ในรูปแบบความผันผวนทางอัตราความเร็วในลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ แบบคงที่ เฉียงขึ้น เฉียงลง โค้งคว่ำ โค้งหงาย และแบบคลื่น และพัฒนาการทางจังหวะที่สามารถแบ่งได้ 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มซับซ้อนที่มีกลุ่มจังหวะมากกว่า 2 กลุ่ม และไม่ซับซ้อนที่มีกลุ่มจังหวะน้อยกว่า 2 กลุ่ม
The purpose of this research was to study the history of the Dragon Dance and development of its accompanimental music. This research entirely focused on the dance by Golden Dragon Pak- Nam - Po group, finding particularities of Drums and other instruments that are used for the Dragon Dance, special techniques, and rhythm patterns. The qualitative research based on Ethnomusicology is the main research methodology. Information was collected from related commentaries and literature review. Research information indicated that adjustment in rhythmic patterns of accompanimental music is a result of the modified form of the dance, and how the dragon is manipulated. Furthermore, the Dragon parade with the Lor - Chair Drums also important to local economic, belief, identity, and socialization process with signature musical techniques either drums rolls, and looping in various tempo. For example, stable tempo, upward oblique, downward oblique, upside down curve, upturned curve, and wavy curve. Development of rhythmic pattern can be divided into two group as groups consist of more than 2 patterns and less than 2 patterns
The purpose of this research was to study the history of the Dragon Dance and development of its accompanimental music. This research entirely focused on the dance by Golden Dragon Pak- Nam - Po group, finding particularities of Drums and other instruments that are used for the Dragon Dance, special techniques, and rhythm patterns. The qualitative research based on Ethnomusicology is the main research methodology. Information was collected from related commentaries and literature review. Research information indicated that adjustment in rhythmic patterns of accompanimental music is a result of the modified form of the dance, and how the dragon is manipulated. Furthermore, the Dragon parade with the Lor - Chair Drums also important to local economic, belief, identity, and socialization process with signature musical techniques either drums rolls, and looping in various tempo. For example, stable tempo, upward oblique, downward oblique, upside down curve, upturned curve, and wavy curve. Development of rhythmic pattern can be divided into two group as groups consist of more than 2 patterns and less than 2 patterns
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล