The impact of the 101S positive discipline storytelling on children's executive function and social-emotional skills in first-grade students

dc.contributor.advisorPanadda Thanasetkorn
dc.contributor.advisorNootchanart Ruksee
dc.contributor.advisorNuanchan Chutabhakdikul
dc.contributor.authorInlaong Charoenphol
dc.date.accessioned2024-01-11T03:12:33Z
dc.date.available2024-01-11T03:12:33Z
dc.date.copyright2017
dc.date.created2024
dc.date.issued2017
dc.descriptionHuman Development (Mahidol University 2017)
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate the impact of the 101s storytelling on learners' EF and social-emotional skills. Most of the 101s training programs in previous studied focused on training program for teachers and were limited to only preschool levels. Therefore, the current research intended to further study the impact of the 101s training program for learners in the first grade. The sample was divided into 2 groups, the intervention group (n = 98) received the 101s storytelling, the control group (n = 94) received no intervention. The total sample was 192 first grade learners. The teachers of the learners were asked to rate by using Executive Function assessment in Mahidol University version (MU.EF-101) and the 1o1s social-emotional skills checklist. Paired sample t-test was computed to compare the differences in the pretest and posttest mean scores within groups. MANCOVA was performed to compare the differences in the posttest mean scores between the intervention and control groups. Finally, bivariate-correlations were performed to examine the relationships between the students' executive function skill and socialemotional skills. The results showed that there was a positive impact of the 101s storytelling on learners' EF and social-emotional skills among the learners first-grade. For supporting the teachers in the elementary school.
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลการเล่านิทาน 101 s การสร้างวินัยเชิงบวก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทักษะด้านกระบวนการคิดเชิงบริหารและทักษะอารมณ์สังคมของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนประถมศึกษา กรุงเทพฯ อายุ 6-7 ปี จำนวน 192 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง (n=98) และกลุ่มควบคุม (n=94) การศึกษาครั้งนี้ใช้เครื่องมือได้แก่ (1) แบบประเมินพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารในเด็ก ปฐมวัย สำหรับครู (MU.EF-101) (2) แบบสอบถาม101s ทักษะอารมณ์สังคมของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อประเมินทักษะกระบวนการคิดเชิงบริหารและทักษะอารมณ์สังคมผ่านการ เล่านิทาน 101s การสร้างวินัยเชิงบวก ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ Paired sample t-test เพื่อสำรวจความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ก่อนและหลังการฟังนิทาน 101s ในกลุ่ม และใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหุคูณ (MANCOVA) เพื่อสำรวจความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนจากแบบสอบถาม101s ทักษะ อารมณ์สังคมและ MU.EF-101 เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม สุดท้ายใช้ Bivariate-correlations เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างทักษะกระบวนการคิดเชิงบริหารและ ทักษะอารมณ์สังคมของนักเรียน ผลจากการศึกษาพบว่า การเล่านิทาน 101s การสร้างวินัยเชิงบวก ส่งผลต่อการเพิ่มทักษะกระบวนการคิดเชิงบริหารและทักษะอารมณ์สังคมของนักเรียนในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนท้ายของรายงานนี้จะนำเสนอการอภิปราย ผลการวิจัย ข้อจำกัด ผลกระทบและข้อเสนอแนะสำหรับงานวิจัยต่อไปในอนาคต
dc.format.extentx, 103 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2017
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92355
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectDiscipline of children
dc.subjectEmotional intelligence
dc.subjectStorytelling
dc.titleThe impact of the 101S positive discipline storytelling on children's executive function and social-emotional skills in first-grade students
dc.title.alternativeผลของการเล่านิทาน 101s การสร้างวินัยเชิงบวกต่อทักษะการคิดเชิงบริหารและทักษะด้านอารมณ์สังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd522/5736731.pdf
thesis.degree.departmentNational Institute for Child and Family Development
thesis.degree.disciplineHuman Development
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files