Environmental factors influencing oyster, Saccostrea Cucullata culture in Chonburi province
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 137 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Management and Technology))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Thiyada Piyawongnarat Environmental factors influencing oyster, Saccostrea Cucullata culture in Chonburi province. Thesis (M.Sc. (Environmental Management and Technology))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91759
Title
Environmental factors influencing oyster, Saccostrea Cucullata culture in Chonburi province
Alternative Title(s)
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเลี้ยงหอยนางรม Saccostrea Cucullata ในจังหวัดชลบุรี
Author(s)
Abstract
To better understand the influence of environmental variability on oyster culture in Chonburi province, this study evaluated water quality and condition index (CI) of oyster Saccostrea cucullata (Born, 1778) at four different farms based on distance apart from Bang Pakong estuary, namely Makham Yong sub-district (MKY), Bang Plasoi sub-district (BPS), Ang Sila sub-district (ASL) and Bang Phra sub-district (BPR), Chonburi province. Water quality (salinity, conductivity, DO, temperature, pH, TDS, turbidity and Chl-a) and oyster samples were measured and evaluated in winter (November, 2016), summer (February and April, 2016) and rainy season (July, 2017). The raft hanging method was applied at BPR, and the hanging culture on bamboo plots was applied at other sites. CI was applied as a tool to estimate oyster meat quality resulting from different environmental factors. Kruskal-Wallis test and the Mann-Whitney U test were conducted to analyze the differences of CI and environmental factors among seasons, as well as to analyze differences of S. cucullata characteristics among seasons and culture methods. To estimate the correlation between the environmental factors and the CI of S. cucullata, Kendall's tau-b (τb) correlation coefficient was applied. The correlation between CI and the S. cucullata characteristics, and culture methods and the S. cucullata characteristics (total weight (TW), shell length (SL), shell width (SW) and shell thickness (ST)) were also investigated. The results indicated that there was the statistically significant difference in salinity, conductivity, DO, pH, TDS, turbidity, and Chl-a among sites and seasons (p < .05). Besides, the temperature was significantly different among sites (p = .004). The highest salinity was measured at BPR, and the lowest at MKY in all seasons. Similarly, the highest CI was detected at BPR, whereas the lowest was detected at MKY in all seasons. Conductivity and TDS showed the same trend as salinity. Conversely, DO and Chl-a were the highest at MKY and the lowest at BPR in all seasons. Temperature and pH were fluctuated and not different more than 1 unit among sites and seasons. There were significant differences in CI, SL and SW among different culture methods. The CI was correlated with TW, SL, SW and ST in both culture methods. Moreover, the results showed significant positive correlations between CI and salinity (p = .000), CI and conductivity (p = .000), CI and temperature (p = .017), and CI and TDS (p = .000), and negative correlations between CI and DO (p = .000), and CI and Chl-a (p = .000). This study indicated that poorer condition of the oyster was observed at landward farms from the estuary. Higher salinity certainly supported better the CI of the oyster. Beside, DO and Chl-a did not assist the better CI of S. cucullata in this case. To improve management in oyster culture, monitoring water quality must be planned, especially with regard to waste water loaded via freshwater discharge. Also, since most famers harvest oyster production that reaches market size throughout the year, the culture method must be considered. Combination of science and traditional knowledge would be a better way to sustain oyster industry. Additionally, ecological-economic modelling framework is suggested for further promotion to have sustainable management of coastal water quality and the oyster culture industry in Chonburi province
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเลี้ยงหอยนางรมในจังหวัดชลบุรี โดยตรวจวัดคุณภาพน้ำ ได้แก่ ความเค็ม การนำไฟฟ้า (conductivity) ออกซิเจนละลายน้ำ (DO) อุณหภูมิน้ำ ความเป็นกรด-เบส (pH) ปริมาณของของแข็งที่แขวนลอยหรือละลายในน้ำ (TDS) ความขุ่น (turbidity) และปริมาณคลอโรฟิลล์เอ (Chl-a) รวมถึงศึกษาค่าดัชนีความสมบูรณ์ (condition index, CI) ของหอย นางรม S. cucullata ในพื้นที่ศึกษารวมทั้งสิ้น 4 สถานีในอำเภอเมืองและศรีราชาโดยมีระยะห่างที่ห่างจากปากแม่น้ำ บางปะกงที่แตกต่างัน ได้แก่ ตำบลมะขามหย่ง (MKY) ตำบลบางปลาสร้อย (BPS) ตำบลอ่างศิลา (ASL) และตำบลบางพระ (BPR) ตามลำดับ โดยมีเพียง BPR ที่มีการเลี้ยงหอยแบบพวงอุบะแขวนบนแพเชือก ในขณะที่สถานีอื่นมีการเลี้ยงแบบพวงอุบะแขวนบนนั่งร้าน ทั้งนี้ตัวอย่างหอยนางรมและคุณภาพน้ำ ถูกเก็บในฤดูหนาว (เดือนพฤศจิกายน 2559) ฤดูร้อน (เดือนกุมพาพันธ์และเมษายน 2560) และฤดูฝน (เดือนกรกฎาคม 2560) ค่า CI ถูกนำมาพิจารณาความอุดมสมบูรณ์ของเนื้อหอยนางรมอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในแต่ละสถานี ข้อมูลถูกวิเคราะห์ด้วย Kruskal-Wallis test และ Mann-Whitney U test ซึ่งใช้วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่า CI และคุณภาพน้ำในแต่ละฤดู รวมถึงใช้วิเคราะห์ความแตกต่างของลักษณะภายนอกของ S. cucullata ได้แก่ น้ำหักเปียก (TW) ความยาวของเปลือก (SL) ความกว้างของเปลือก (SW) และความหนาของเปลือก (ST) ในแต่ละฤดูและในแต่ละวิธีการเลี้ยง ส่วน Kendall's tau-b (τb) correlation coefficient ใชวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่า CI และคุณภาพน้ำ แต่ละปัจจัยความสัมพันธ์ระหว่างค่า CI และลักษณะภายนอกของ S. cucullata ความสัมพันธ์ระหว่างค่า CI และวิธีการเลี้ยง และความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะภายนอกของ S. cucullata และวิธีการเลี้ยง ผลการศึกษาพบว่าคุณภาพน้ำ ได้แก่ ความเค็ม การนำไฟฟ้า DO pH TDS ความขุ่น และ Chl-a มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ละสถานีและในแต่ละฤดู (p < .05) ส่วนอุณหภูมิน้ำ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ละสถานี (p = .004). ค่าความเค็มสูงสุดพบที่ BPR และต่ำสุดที่ MKY ในทุกฤดูซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกับค่า CI การนำไฟฟ้า และ TDS ในขณะที่ DO และ Chl-a มีค่ามากที่สุดที่ MKY และต่ำสุดที่ BPR ในทุกฤดู ส่วนอุณหภูมิน้ำและ pH มีความผันผวนและมีความแตกต่างไม่เกิน 1 หน่วยในแต่ละสถานีและในแต่ละฤดู ส่วนค่า CI SL และ SW มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ละวิธีเลี้ยง (p < .05) นอกจากนี้ยังพบค่า ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างค่า CI และลักษณะของภายนอกของ S. cucullata ในวิธีเลี้ยงทั้งสองแบบ (p < .05) อีกทั้งยังพบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างค่า CI และคุณภาพน้ำ โดยปัจจัยคุณภาพน้ำ ที่มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับค่า CI ได้แก่ ความเค็ม (p = .000) การนำไฟฟ้า (p = .000) อุณหภูมิน้ำ (p = .017) และ TDS (p = .000) ในขณะที่ปัจจัยคุณภาพน้ำที่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับค่า CI ได้แก่ DO (p = .000) และ Chl-a (p = .000). การศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าในบริเวณที่ใกล้ปากแม่น้ำสามารถพบค่า CI ได้ต่ำกว่าบริเวณที่ไกลออกไป ซึ่งความเค็ม ที่สูงกว่านั้น จัดเป็นปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนค่า CI ในขณะที่ DO and Chl-a อาจไม่ใช่ปัจจัยสนับสนุนหลัก ที่ทำให้ค่า CI สูงขึ้นได้ในพื้นที่ศึกษานี้ การตรวจวัดคุณภาพน้ำ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยในการจัดการการเลี้ยงหอยนางรม เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่รับน้ำจากการระบายน้ำ ลงสู่ชายฝั่ง อีกทั้งรูปแบบการเลี้ยงหอยนางรมยังมีส่วนสำคัญต่อขนาดหอยและปริมาณผลผลิตเนื่องจากเกษตรกรเก็บหอยนางรมขนาดตลาดไปขายได้ทั้งปี การบูรณาการระหว่างองค์ความรู้ดังเดิมและวิทยาศาสตร์เป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยพัฒนาการเลี้ยงหอยนางรมอย่างยั่งยืนได้ นอกจากนี้การสร้างแบบจำลองการจัดการการเลี้ยงหอยนางรมในด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมจะช่วยให้เกิดความสมดุลระหว่างคุณภาพน้ำ ชายฝั่งและความสามารถในการรองรับการเลี้ยงหอยนางรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ทั้งนี้เพื่อให้อุตสาหกรรมการเลี้ยงหอยนางรมในพื้นที่นี้ ยั่งยืนต่อไป
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเลี้ยงหอยนางรมในจังหวัดชลบุรี โดยตรวจวัดคุณภาพน้ำ ได้แก่ ความเค็ม การนำไฟฟ้า (conductivity) ออกซิเจนละลายน้ำ (DO) อุณหภูมิน้ำ ความเป็นกรด-เบส (pH) ปริมาณของของแข็งที่แขวนลอยหรือละลายในน้ำ (TDS) ความขุ่น (turbidity) และปริมาณคลอโรฟิลล์เอ (Chl-a) รวมถึงศึกษาค่าดัชนีความสมบูรณ์ (condition index, CI) ของหอย นางรม S. cucullata ในพื้นที่ศึกษารวมทั้งสิ้น 4 สถานีในอำเภอเมืองและศรีราชาโดยมีระยะห่างที่ห่างจากปากแม่น้ำ บางปะกงที่แตกต่างัน ได้แก่ ตำบลมะขามหย่ง (MKY) ตำบลบางปลาสร้อย (BPS) ตำบลอ่างศิลา (ASL) และตำบลบางพระ (BPR) ตามลำดับ โดยมีเพียง BPR ที่มีการเลี้ยงหอยแบบพวงอุบะแขวนบนแพเชือก ในขณะที่สถานีอื่นมีการเลี้ยงแบบพวงอุบะแขวนบนนั่งร้าน ทั้งนี้ตัวอย่างหอยนางรมและคุณภาพน้ำ ถูกเก็บในฤดูหนาว (เดือนพฤศจิกายน 2559) ฤดูร้อน (เดือนกุมพาพันธ์และเมษายน 2560) และฤดูฝน (เดือนกรกฎาคม 2560) ค่า CI ถูกนำมาพิจารณาความอุดมสมบูรณ์ของเนื้อหอยนางรมอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในแต่ละสถานี ข้อมูลถูกวิเคราะห์ด้วย Kruskal-Wallis test และ Mann-Whitney U test ซึ่งใช้วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่า CI และคุณภาพน้ำในแต่ละฤดู รวมถึงใช้วิเคราะห์ความแตกต่างของลักษณะภายนอกของ S. cucullata ได้แก่ น้ำหักเปียก (TW) ความยาวของเปลือก (SL) ความกว้างของเปลือก (SW) และความหนาของเปลือก (ST) ในแต่ละฤดูและในแต่ละวิธีการเลี้ยง ส่วน Kendall's tau-b (τb) correlation coefficient ใชวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่า CI และคุณภาพน้ำ แต่ละปัจจัยความสัมพันธ์ระหว่างค่า CI และลักษณะภายนอกของ S. cucullata ความสัมพันธ์ระหว่างค่า CI และวิธีการเลี้ยง และความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะภายนอกของ S. cucullata และวิธีการเลี้ยง ผลการศึกษาพบว่าคุณภาพน้ำ ได้แก่ ความเค็ม การนำไฟฟ้า DO pH TDS ความขุ่น และ Chl-a มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ละสถานีและในแต่ละฤดู (p < .05) ส่วนอุณหภูมิน้ำ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ละสถานี (p = .004). ค่าความเค็มสูงสุดพบที่ BPR และต่ำสุดที่ MKY ในทุกฤดูซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกับค่า CI การนำไฟฟ้า และ TDS ในขณะที่ DO และ Chl-a มีค่ามากที่สุดที่ MKY และต่ำสุดที่ BPR ในทุกฤดู ส่วนอุณหภูมิน้ำและ pH มีความผันผวนและมีความแตกต่างไม่เกิน 1 หน่วยในแต่ละสถานีและในแต่ละฤดู ส่วนค่า CI SL และ SW มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ละวิธีเลี้ยง (p < .05) นอกจากนี้ยังพบค่า ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างค่า CI และลักษณะของภายนอกของ S. cucullata ในวิธีเลี้ยงทั้งสองแบบ (p < .05) อีกทั้งยังพบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างค่า CI และคุณภาพน้ำ โดยปัจจัยคุณภาพน้ำ ที่มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับค่า CI ได้แก่ ความเค็ม (p = .000) การนำไฟฟ้า (p = .000) อุณหภูมิน้ำ (p = .017) และ TDS (p = .000) ในขณะที่ปัจจัยคุณภาพน้ำที่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับค่า CI ได้แก่ DO (p = .000) และ Chl-a (p = .000). การศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าในบริเวณที่ใกล้ปากแม่น้ำสามารถพบค่า CI ได้ต่ำกว่าบริเวณที่ไกลออกไป ซึ่งความเค็ม ที่สูงกว่านั้น จัดเป็นปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนค่า CI ในขณะที่ DO and Chl-a อาจไม่ใช่ปัจจัยสนับสนุนหลัก ที่ทำให้ค่า CI สูงขึ้นได้ในพื้นที่ศึกษานี้ การตรวจวัดคุณภาพน้ำ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยในการจัดการการเลี้ยงหอยนางรม เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่รับน้ำจากการระบายน้ำ ลงสู่ชายฝั่ง อีกทั้งรูปแบบการเลี้ยงหอยนางรมยังมีส่วนสำคัญต่อขนาดหอยและปริมาณผลผลิตเนื่องจากเกษตรกรเก็บหอยนางรมขนาดตลาดไปขายได้ทั้งปี การบูรณาการระหว่างองค์ความรู้ดังเดิมและวิทยาศาสตร์เป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยพัฒนาการเลี้ยงหอยนางรมอย่างยั่งยืนได้ นอกจากนี้การสร้างแบบจำลองการจัดการการเลี้ยงหอยนางรมในด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมจะช่วยให้เกิดความสมดุลระหว่างคุณภาพน้ำ ชายฝั่งและความสามารถในการรองรับการเลี้ยงหอยนางรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ทั้งนี้เพื่อให้อุตสาหกรรมการเลี้ยงหอยนางรมในพื้นที่นี้ ยั่งยืนต่อไป
Description
Environmental Management and Technology (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Environmental Management and Technology
Degree Grantor(s)
Mahidol University