The valuation of use value and existence value of water onion (Crinum thaianum) in Ranong and Phang Nga provinces
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 157 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Poonyawee Srisantear The valuation of use value and existence value of water onion (Crinum thaianum) in Ranong and Phang Nga provinces. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93254
Title
The valuation of use value and existence value of water onion (Crinum thaianum) in Ranong and Phang Nga provinces
Alternative Title(s)
การประเมินมูลค่าการใช้ประโยชน์และมูลค่าการคงอยู่ของพลับพลึงธาร (Crinum thaianum) ในจังหวัดระนองและจังหวัดพังงา
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Water onion (Crinum thaianum), an endangered aquatic plant in Thailand, has been threatened severely which affects habitat loss, ecological service including income, food security as well as sentimental value of people. The focus of this study was to determine the valuation of existing value and ecological service of water onion. The information gathered from this study could be used in the conservation of water onion. The Choice Experiment (Status quo, Scenario A and Scenario B) was used to gauge the value for 519 households in Ranong, Phang Nga and Bangkok Provinces, Thailand. The respondents were required to select only one type of Choice Experiment. Each choice consisted of 4 attributes including water onion existence in area, water quality, abundance of water onion and beauty of water onion. The existence value of water onion given by on-site respondents was 488 baht per household per year, and by off-site respondents was 472 baht per household per year. Option value of water onion given by on-site respondents was 342 baht per household per year, and by off-site respondents was 252 baht per household per year. For the indirect use value, abundance value was 284 baht per household per year and water quality value was 238 baht per household per year. The total economic value of water onion for on-site respondents was 1,114 baht per household per year or 23,549,960 baht per year, and for off-site respondents was 962 baht per household per year. Marital status, membership of environmental organization, attitude toward social issue and understanding about basic information of water onion influenced the decision of on-site respondents in their willingness to pay. Gender, education, individual monthly income, attitude toward social issue, understanding about threats to water onion and understanding about basic information of water onion influenced to the decision of off-site respondents in their willingness to pay.
พลับพลึงธาร (Crinum thaianum) เป็นพืชน้ำเฉพาะถิ่นของไทย พบกระจายเพียงแค่ประเทศไทยเท่านั้น มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจสังคม และระบบนิเวศ ในระยะหลังพลับพลึงธารถูกคุกคามอย่างหนัก จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของลำธาร ส่งผลกระทบให้พลับพลึงธารลดปริมาณลงและมีแนวโน้มที่จะลดลงยิ่งขึ้นทุกปี ประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการอนุรักษ์พลับพลึงธารโดยวิธีการทดลองทางเลือก (Choice experiment) โดยจะให้ผู้ตอบเลือกทางเลือกที่พึงพอใจมากที่สุด กำหนดทางเลือก 3 ระดั ได้แก่ ไม่ดำเนินการใด ๆ, แผน A และแผน B บ ในแต่ละทางเลือกประกอบด้วยคุณลักษณะของพลับพลึงธารจำนวน 4 คุณลักษณะ ได้แก่ (1) การที่ทราบว่าพลับพลึงธารยังคงมีอยู่ในจังหวัดระนอง (2) ดักตะกอนต่างๆ เพื่อให้น้ำมีความใสสะอาด (3) ความอุดมสมบูรณ์ และ (4) ความสวยงาม สัมภาษณ์ 519 ครัวเรือน ในพื้นที่จังหวัดระนอง พังงา และกรุงเทพ ผลการศึกษาพบว่า มูลค่าการคงอยู่ของพลับพลึงธารของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่เท่ากับ 488 บาทต่อครัวเรือนต่อปี, กลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ 472 บาทต่อครัวเรือนต่อปี มูลค่าเผื่อใช้ของพลับพลึงธารของกลุ่มตัวอย่างในพื้ยที่เท่ากับ 342 บาทต่อครัวเรือนต่อปี, กลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ 252 บาทต่อครัวเรือนต่อปี มูลค่าการใช้ประโยชน์ทางอ้อมได้แก่ ความอุดมสมบูรณ์ เท่ากับ 284 บาทต่อ ครัวเรือนต่อปี และ ดักตะกอนต่าง ๆ เพื่อให้น้ำมีความใสสะอาด เท่ากับ 238 บาทต่อครัวเรือนต่อปี รวมมูลค่าเศรษฐศาสตร์ของพลับพลึงธารของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่เท่ากับ 1,114 บาทต่อครัวเรือนต่อปี หรือ 23,549,960 บาทต่อปี และกลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ 962 บาทต่อครัวเรือนต่อปีปัจจัยที่มีผลต่อความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ ได้แก่ สถานะการสมรส, การเป็นสมาชิก กลุ่มอนุรักษ์, ทัศนคติเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม และความเข้าใจในเรื่องข้อมูลทั่วไปของพลับพลึงธาร ปัจจัยที่มีผล ต่อความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ ได้แก่ เพศ, การศึกษา, รายได้เฉลี่ยต่อเดือน, ทัศนคติเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม, ความเข้าใจในเรื่องข้อมูลทั่วไปของพลับพลึงธาร และความเข้าใจเรื่องการคุกคามพลับพลึงธาร
พลับพลึงธาร (Crinum thaianum) เป็นพืชน้ำเฉพาะถิ่นของไทย พบกระจายเพียงแค่ประเทศไทยเท่านั้น มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจสังคม และระบบนิเวศ ในระยะหลังพลับพลึงธารถูกคุกคามอย่างหนัก จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของลำธาร ส่งผลกระทบให้พลับพลึงธารลดปริมาณลงและมีแนวโน้มที่จะลดลงยิ่งขึ้นทุกปี ประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการอนุรักษ์พลับพลึงธารโดยวิธีการทดลองทางเลือก (Choice experiment) โดยจะให้ผู้ตอบเลือกทางเลือกที่พึงพอใจมากที่สุด กำหนดทางเลือก 3 ระดั ได้แก่ ไม่ดำเนินการใด ๆ, แผน A และแผน B บ ในแต่ละทางเลือกประกอบด้วยคุณลักษณะของพลับพลึงธารจำนวน 4 คุณลักษณะ ได้แก่ (1) การที่ทราบว่าพลับพลึงธารยังคงมีอยู่ในจังหวัดระนอง (2) ดักตะกอนต่างๆ เพื่อให้น้ำมีความใสสะอาด (3) ความอุดมสมบูรณ์ และ (4) ความสวยงาม สัมภาษณ์ 519 ครัวเรือน ในพื้นที่จังหวัดระนอง พังงา และกรุงเทพ ผลการศึกษาพบว่า มูลค่าการคงอยู่ของพลับพลึงธารของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่เท่ากับ 488 บาทต่อครัวเรือนต่อปี, กลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ 472 บาทต่อครัวเรือนต่อปี มูลค่าเผื่อใช้ของพลับพลึงธารของกลุ่มตัวอย่างในพื้ยที่เท่ากับ 342 บาทต่อครัวเรือนต่อปี, กลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ 252 บาทต่อครัวเรือนต่อปี มูลค่าการใช้ประโยชน์ทางอ้อมได้แก่ ความอุดมสมบูรณ์ เท่ากับ 284 บาทต่อ ครัวเรือนต่อปี และ ดักตะกอนต่าง ๆ เพื่อให้น้ำมีความใสสะอาด เท่ากับ 238 บาทต่อครัวเรือนต่อปี รวมมูลค่าเศรษฐศาสตร์ของพลับพลึงธารของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่เท่ากับ 1,114 บาทต่อครัวเรือนต่อปี หรือ 23,549,960 บาทต่อปี และกลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ 962 บาทต่อครัวเรือนต่อปีปัจจัยที่มีผลต่อความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ ได้แก่ สถานะการสมรส, การเป็นสมาชิก กลุ่มอนุรักษ์, ทัศนคติเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม และความเข้าใจในเรื่องข้อมูลทั่วไปของพลับพลึงธาร ปัจจัยที่มีผล ต่อความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างนอกพื้นที่ ได้แก่ เพศ, การศึกษา, รายได้เฉลี่ยต่อเดือน, ทัศนคติเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม, ความเข้าใจในเรื่องข้อมูลทั่วไปของพลับพลึงธาร และความเข้าใจเรื่องการคุกคามพลับพลึงธาร
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University