พฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดเพชรบูรณ์
Issued Date
2567
Copyright Date
2563
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฎ, 140 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563
Suggested Citation
ภูรินุช ศาลากิจ พฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดเพชรบูรณ์. สารนิพนธ์ (วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99544
Title
พฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดเพชรบูรณ์
Alternative Title(s)
Protective behaviors of cardiovascular diseases among diabetes mellitus type 2 patients, Phetchabun province
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
perceived efficacy
โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่รับบริการในโรงพยาบาลรัฐในจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 137 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างเดือนมีนาคม ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2563 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยสำคัญพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ประมาณ 7 ใน 10 มีพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด (p < 0.05) ได้แก่ เพศ และปัจจัยแรงจูงใจในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด (การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ความเสี่ยงการเกิดโรค การรับรู้ผลลัพธ์ของการป้องกันโรค และการรับรู้ความสามารถของตน) ทั้งนี้ เพศหญิง และการรับรู้ความสามารถของตน เป็นปัจจัยทานายพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยร่วมกันอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 37 จึงมีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรทางการแพทย์ควรจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ป่วย เบาหวานโดยมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในความสามารถในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เพื่อการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การให้คาแนะนำในการปฏิบัติตนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงการให้ข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยใช้ภาษาในการสื่อสารที่เข้าใจง่าย
Diabetes is one of the major risk factors for cardiovascular diseases. The cross-sectional survey study aims to examine the protective behaviors of cardiovascular diseases and associated factors among diabetes mellitus type 2 patients in Phetchabun province. The samples are 132 type 2 diabetic patients in three public hospitals in Phetchabun province. Data were collected from the questionnaire from March to July 2020. The data were analyzed using the descriptive statistics and inferential statistics. The crucial finding of the study revealed that approximately 7 in 10 samples showed cardiovascular protective behaviors at a moderate level. Factors associated with cardiovascular protective behaviors (p<0.05) were sex and cardiovascular protective motivation factors (i.e. perceived severity, perceived susceptibility, perceived efficacy, and self-efficacy). Additionally, both sex (female) and self-efficacy were the predictors of cardiovascular protective behaviors with collectively predict 37% of the variance of them. Therefore, this study suggested that healthcare personnel should organize activities to improve patients' potential, which focuses on, encourage patient confidence in their ability to modify their behaviors to prevent cardiovascular diseases. Providing practical advice to reduce the risk factor of cardiovascular diseases must be included together with severity and complication in simple and understandable messages.
โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่รับบริการในโรงพยาบาลรัฐในจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 137 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างเดือนมีนาคม ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2563 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยสำคัญพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ประมาณ 7 ใน 10 มีพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด (p < 0.05) ได้แก่ เพศ และปัจจัยแรงจูงใจในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด (การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ความเสี่ยงการเกิดโรค การรับรู้ผลลัพธ์ของการป้องกันโรค และการรับรู้ความสามารถของตน) ทั้งนี้ เพศหญิง และการรับรู้ความสามารถของตน เป็นปัจจัยทานายพฤติกรรมการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยร่วมกันอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 37 จึงมีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรทางการแพทย์ควรจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ป่วย เบาหวานโดยมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในความสามารถในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เพื่อการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การให้คาแนะนำในการปฏิบัติตนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงการให้ข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยใช้ภาษาในการสื่อสารที่เข้าใจง่าย
Diabetes is one of the major risk factors for cardiovascular diseases. The cross-sectional survey study aims to examine the protective behaviors of cardiovascular diseases and associated factors among diabetes mellitus type 2 patients in Phetchabun province. The samples are 132 type 2 diabetic patients in three public hospitals in Phetchabun province. Data were collected from the questionnaire from March to July 2020. The data were analyzed using the descriptive statistics and inferential statistics. The crucial finding of the study revealed that approximately 7 in 10 samples showed cardiovascular protective behaviors at a moderate level. Factors associated with cardiovascular protective behaviors (p<0.05) were sex and cardiovascular protective motivation factors (i.e. perceived severity, perceived susceptibility, perceived efficacy, and self-efficacy). Additionally, both sex (female) and self-efficacy were the predictors of cardiovascular protective behaviors with collectively predict 37% of the variance of them. Therefore, this study suggested that healthcare personnel should organize activities to improve patients' potential, which focuses on, encourage patient confidence in their ability to modify their behaviors to prevent cardiovascular diseases. Providing practical advice to reduce the risk factor of cardiovascular diseases must be included together with severity and complication in simple and understandable messages.
Description
สาธารณสุขศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2563)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
สาธารณสุขศาสตร์
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล