การพัฒนางานรับผู้ป่วยใหม่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงฆ์
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฏ, 292 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การบริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
เพชรชณี วงค์มาก การพัฒนางานรับผู้ป่วยใหม่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงฆ์. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การบริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92555
Title
การพัฒนางานรับผู้ป่วยใหม่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงฆ์
Alternative Title(s)
Development of a new model in admitting at outpatient department, Priest Hospital
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยพัฒนาเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนหลังการทดลองนี้ เพื่อพัฒนางานรับผู้ป่วยใหม่ โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ นำไปทดลองที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงฆ์ ระหว่าง 2 กุมภาพันธ์ 2558 ถึง 30 มิถุนายน 2558 โดยให้แผนกผู้ป่วยนอก สถาบันมะเร็งแห่งชาติเป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่าง คือ การดำเนินงานรับผู้ป่วยใหม่ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงฆ์ ในช่วงก่อนและหลังการทดลอง ของพื้นที่วิจัยและพื้นที่ควบคุม รวม 120 ครั้ง ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 143 คน รวม 166 ครั้ง วัดผลการดำเนินงานด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาและแรงงานที่ใช้ ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง และด้านเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติที ค่าสถิติแพร์ที ค่าสถิติวิลค็อกสัน ค่าสถิติแมนวิทย์นียู ที่ระดับแอลฟา 0.05 และ การวิเคราะห์เนื้อหาพบว่า ในการพัฒนารูปแบบ ได้นำหลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง มาประยุกต์อย่างสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ทดลอง โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ มีการกำหนดลักษณะและองค์ประกอบหลักของรูปแบบให้มีความเหมาะสม ถูกต้อง ครบถ้วน ง่ายต่อการนำไปปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วม มีการจัดทำผังการไหลเวียนของงานรับ ผู้ป่วยใหม่ให้เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน หลังการทดลอง พบว่า ปริมาณงานเฉลี่ยต่อแรงงานที่ใช้เพิ่มขึ้น (p<0.001) อัตราความถูกต้องของการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น (p<0.001) ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช้ลดลง (p<0.001) แรงงานเฉลี่ยที่ใช้ลดลง (p<0.001) ความพึงพอใจของผู้ให้บริการเพิ่มขึ้น (p<0.001) และ ต้นทุนต่อหน่วยในการให้บริการลดลง (p<0.001) รูปแบบที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 14 หลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 6 ฉบับ มีโครงสร้างด้านคน เงิน ของ และ ระบบงานที่ชัดเจน และ มีวิธีการนำรูปแบบไปดำเนินการอย่างต่อเนื่องสู่ความยั่งยืน ที่แหมาะสม สามารถทำได้จริงในบริบทของโรงพยาบาลสงฆ์ เน้นการปฏิบัติที่ไม่ซับซ้อน สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง เสนอแนะให้ดำเนินการวิจัยต่อไป จนได้ตัวแบบของงานรับผู้ป่วยใหม่ที่สมบูรณ์ ให้ขยายผลการพัฒนาไปสู่งานอื่นๆ ทั้งในและนอกกรมการแพทย์ สนับสนุนการนำรูปแบบและวิธีการที่ใช้ในการวิจัยนี้ ไปเผยแพร่ให้เป็นหนึ่งในตัวอย่างของการทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย (R2R) ด้วยกระบวนการจัดการความรู้และระบบเครือข่าย รวมทั้งข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ของทั้งกรมการแพทย์ และแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
This study was an Experimental Development Research (EDR) that aimed to develop new model of admitting patients using available resources. The study was conducted at the Out Patient Department, Priest Hosiptal from 2nd February 2015 - 30th June 2015 using patients from the National Cancer Institutute as the control group.The sample group was 120 cases of Admitted patients at the OPD of Priest Hospital.There were 143 respondents who answered the questionnaire, from a total of 166 hospital employees. The questionaire was used to evaluate operational results in terms of quantity of workload, quality of work, operational time and workforce, economics and satisfaction of the involved persons and economics. Data were analyzed using descriptive statistics, t-test, paired-t test, Wilcoxon, Mann Whitney U at the alpha level of 0.05 and content analysis. The results showed that the model that has been developed by applying relevant theories to the experimental area using available resources with appropriate, accurate, and complete characteristics and main compositions were easy to be complied by the operational officers with a clear written flow chart of admitting patients. The experimental results revealed that the average workload per workforce increased (p<0.001), accuracy of work increased (p<0.001), average service time decreased (p<0.001), satisfication level of service providers increased (p<0.001), and the cost per service providing unit decreased (p<0.001). The developed model was composed of 14 principles and 2 related laws with clear human, financial, material structure, and working system. The model could be implemented for its sustainability. The simple implementation of the model would be in the Priest Hospital. The focused to provide a countinual care of the patients. It is suggested that a further study be conducted to cover other areas that were not addressed by this present research.
This study was an Experimental Development Research (EDR) that aimed to develop new model of admitting patients using available resources. The study was conducted at the Out Patient Department, Priest Hosiptal from 2nd February 2015 - 30th June 2015 using patients from the National Cancer Institutute as the control group.The sample group was 120 cases of Admitted patients at the OPD of Priest Hospital.There were 143 respondents who answered the questionnaire, from a total of 166 hospital employees. The questionaire was used to evaluate operational results in terms of quantity of workload, quality of work, operational time and workforce, economics and satisfaction of the involved persons and economics. Data were analyzed using descriptive statistics, t-test, paired-t test, Wilcoxon, Mann Whitney U at the alpha level of 0.05 and content analysis. The results showed that the model that has been developed by applying relevant theories to the experimental area using available resources with appropriate, accurate, and complete characteristics and main compositions were easy to be complied by the operational officers with a clear written flow chart of admitting patients. The experimental results revealed that the average workload per workforce increased (p<0.001), accuracy of work increased (p<0.001), average service time decreased (p<0.001), satisfication level of service providers increased (p<0.001), and the cost per service providing unit decreased (p<0.001). The developed model was composed of 14 principles and 2 related laws with clear human, financial, material structure, and working system. The model could be implemented for its sustainability. The simple implementation of the model would be in the Priest Hospital. The focused to provide a countinual care of the patients. It is suggested that a further study be conducted to cover other areas that were not addressed by this present research.
Description
การบริหารโรงพยาบาล (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
การบริหารโรงพยาบาล
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล