ฮิญาบในบัญญัติอิสลาม : ศึกษาทรรศนะของนักวิชาการอิสลามและนักศึกษามุสลิมะฮ์ในกรุงเทพมหานคร
Issued Date
2555
Copyright Date
2555
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ช, 85 แผ่น 0 ซม.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555
Suggested Citation
มารียา ยิ่งวัฒนไกร ฮิญาบในบัญญัติอิสลาม : ศึกษาทรรศนะของนักวิชาการอิสลามและนักศึกษามุสลิมะฮ์ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93690
Title
ฮิญาบในบัญญัติอิสลาม : ศึกษาทรรศนะของนักวิชาการอิสลามและนักศึกษามุสลิมะฮ์ในกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Hijab in Islam : a study of the opinion of Islamic scholars and Muslimah students in Universities Bangkok
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษาการแต่งกายฮิญาบใน บัญญัติอิสลาม 2. เพื่อศึกษาทัศนคติเรื่องฮิญาบของนักวิชาการอิสลามสายซุนนะฮ์ในกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อ ศึกษาทัศนคติเรื่องฮิญาบของนักศึกษามุสลิมะฮ์ (สตรีมุสลิม) ที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร ข้อมูลได้ จากการศึกษาคัมภีร์อัลกุรอาน อัลหะดีษ และเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบกับการสัมภาษณ์เชิงลึกนักวิชาการ อิสลาม และนักศึกษาสตรีมุสลิมในกรุงเทพฯ จากการวิจัยพบว่าในด้านหลักการ การคลุมฮิญาบในบัญญัติสำหรับสตรีมุสลิม ว่าด้วยการแต่งกาย อย่างมิดชิด และประกอบด้วยจริยธรรมการครองตนของสตรี อันมุ่งสู่การสำรวมทางเพศ การปกป้ องผู้สวมใส่ สังคม และผลประโยชน์ด้านต่างๆ มีความเห็นที่แตกต่างกันบ้างในระหว่างนักนิติศาสตร์ว่าด้วยเรื่องขอบเขตของ ร่างกายที่ต้องปกปิด นักวิชาการอิสลามที่ร่วมวิจัยทั้งหมดมีความเห็นสอดคล้องกับหลักการดังกล่าว เห็นว่ามุสลิมะฮ์อยู่ภายใต้บัญญัติที่ต้องยึดถือฮิญาบและอาจเลือกขอบเขตการแต่งกายที่สอดคล้องกับทรรศนะจากการตีความ คัมภีร์ลักษณะใดก็ได้โดยไม่ถือว่าผิดบัญญัติศาสนา ส่วนนักศึกษามุสลิมะฮ์มีการปฏิบัติตามหลักการฮิญาบ เนื่อง มากจากการสนับสนุนและการเอื้ออำนวยจากครอบครัวที่มีการปฏิบัติตามหลักการศาสนา ภูมิลำเนาของนักศึกษา และการเรียนรู้ที่ได้จากสถาบันทางสังคมเหล่านั้น นักศึกษามุสลิมะฮ์เห็นว่าการคลุมฮิญาบเป็นหน้าที่ของมุสลิมะฮ์ ทุกคน ที่ให้ประโยชน์สอดคล้องกับหลักการทางศาสนา ทรรศนะของนักวิชาการ และสังคมปัจจุบันที่กำลังเปลี่ยนแปลง
Description
ศาสนาเปรียบเทียบ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2555)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
ศาสนาเปรียบเทียบ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล