The relationship between psychological capital and ethical behavior in secondary school students, Songkhla province : a case study of Hatyaiwittayalaisomboonkulkanya School
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 104 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Weeraphong Chalermrungroj The relationship between psychological capital and ethical behavior in secondary school students, Songkhla province : a case study of Hatyaiwittayalaisomboonkulkanya School. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93263
Title
The relationship between psychological capital and ethical behavior in secondary school students, Songkhla province : a case study of Hatyaiwittayalaisomboonkulkanya School
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา จังหวัดสงขลา : กรณีศึกษา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this survey research was to study the relationship between Psychological Capital and Ethical behavior in secondary school students in Songkhla Province. The sample group was 387 students in the Hatyaiwittayalaisomboonkulkanya School in the academic year 2015. The data collection instruments had 3 parts: a Student's general questionnaire, the Thai Psychological Capital Inventory and the Ethical Behavior Questionnaire. The study results found the levels of Psychological Capital, in Psychological Capital components such as Hope, Self - efficacy, Resilience and Optimism and Ethical behavior of secondary school students, were moderately high. The results of comparing Ethical behaviors based on gender found female students had higher Ethical behaviors than male students with a statistical significance at a 0.001 level and the results of comparing Ethical behavior based on class levels found that students who studied at different class levels did not have different Ethical behaviors. In addition, the Psychological Capital and Psychological Capital components were positively related to Ethical behavior at a moderate level with a statistical significance at a 0.001 level and that Psychological Capital components such as Optimism, Self - efficacy and Resilience can predict the Ethical behavior of secondary school students by 29%. The correlation coefficient is 0.538 and the standard error of estimate is ± 7.857. The recommendations for further study would be an increase in the sample size and be extended to other populations, including take other psychosocial factors, to explain Ethical behavior. The research results suggest that promoting and supporting Optimism, Self - efficacy and Resilience can be a method by which there can be an increase in, and help to develop, the levels of Ethical behavior in secondary school students.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา ที่กำลังศึกษาในปี การศึกษา 2558 เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลมี 3 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน แบบประเมินต้นทุนทางจิตวิทยาสำหรับคนไทย และแบบสอบถามพฤติกรรมเชิงจริยธรรม ผลการศึกษาพบว่า ทุนทางจิตวิทยา องค์ประกอบของทุนทางจิตวิทยา ได้แก่ ความหวัง การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความหยุ่นตัว และการมองโลกในแง่ดี และพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาอยู่ในระดับค่อนข้างสูง จากการเปรียบเทียบพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียน เมื่อจำแนกตามเพศ พบว่า นักเรียนหญิงมีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมสูงกว่านักเรียนชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 เมื่ออจำแนกตามระดับชั้นปี พบว่า นักเรียนที่ศึกษาในระดับชั้นปี ที่ต่างกันมีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังพบว่าทุนทางจิตวิทยาและองค์ประกอบของทุนทาง จิตวิทยาทั้ง 4 องค์ประกอบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และองค์ประกอบของทุนทางจิตวิทยา ได้แก่ การมองโลกในแง่ดี การรับรู้ความสามารถของตนเอง และความหยุ่นตัว สามารถทำนาย นายพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้ร้อยละ 29.0 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เป็น 0.538 และความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการทำนายเท่ากับ ±7.857 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป คือ ควรเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างใหม่ให้มากขึ้นและขยายการศึกษาไปยังกลุ่มประชากรอื่นๆ รวมไปถึงการนำปัจจัยทางจิตสังคมด้านอื่นๆ เข้ามาร่วมศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรม และจาก การศึกษาในครั้งนี้ ทำให้ทราบว่าการส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยด้านการมองโลกในแง่ดี การรับรู้ความสามารถของตนเอง และความหยุ่นตัว เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มระดับและพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา ที่กำลังศึกษาในปี การศึกษา 2558 เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลมี 3 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน แบบประเมินต้นทุนทางจิตวิทยาสำหรับคนไทย และแบบสอบถามพฤติกรรมเชิงจริยธรรม ผลการศึกษาพบว่า ทุนทางจิตวิทยา องค์ประกอบของทุนทางจิตวิทยา ได้แก่ ความหวัง การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความหยุ่นตัว และการมองโลกในแง่ดี และพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาอยู่ในระดับค่อนข้างสูง จากการเปรียบเทียบพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียน เมื่อจำแนกตามเพศ พบว่า นักเรียนหญิงมีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมสูงกว่านักเรียนชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 เมื่ออจำแนกตามระดับชั้นปี พบว่า นักเรียนที่ศึกษาในระดับชั้นปี ที่ต่างกันมีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังพบว่าทุนทางจิตวิทยาและองค์ประกอบของทุนทาง จิตวิทยาทั้ง 4 องค์ประกอบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และองค์ประกอบของทุนทางจิตวิทยา ได้แก่ การมองโลกในแง่ดี การรับรู้ความสามารถของตนเอง และความหยุ่นตัว สามารถทำนาย นายพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้ร้อยละ 29.0 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เป็น 0.538 และความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการทำนายเท่ากับ ±7.857 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป คือ ควรเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างใหม่ให้มากขึ้นและขยายการศึกษาไปยังกลุ่มประชากรอื่นๆ รวมไปถึงการนำปัจจัยทางจิตสังคมด้านอื่นๆ เข้ามาร่วมศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรม และจาก การศึกษาในครั้งนี้ ทำให้ทราบว่าการส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยด้านการมองโลกในแง่ดี การรับรู้ความสามารถของตนเอง และความหยุ่นตัว เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มระดับและพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University