Relationships between parenting styles and empathy in juvenile delinquents in the central observation and protection center
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 53 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Jittawat Buacharoon Relationships between parenting styles and empathy in juvenile delinquents in the central observation and protection center. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92368
Title
Relationships between parenting styles and empathy in juvenile delinquents in the central observation and protection center
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูกับการร่วมรู้สึกในเยาวชนที่กระทำผิดในสถานพินิจกลาง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Parents play critical roles in child habits and characteristics. This study aimed to examine the association between parenting styles and both levels of cognitive and emotional empathy in juvenile delinquents, as well as to determine differences of empathy in each style. Participants were 209 adolescents aged between 14-22, recruited from the Central Observation and Protection Center who completed self-report questionnaires regarding their perception of parenting styles and empathy. Each person was categorized into one out of four parenting styles, and the associations between parenting styles and empathy were measured by Pearson correlation coefficient, while differences of empathy between each parenting style were measured by one-way analysis of variance (ANOVA). The findings showed that parenting styles were significantly associated with the level of empathy specifically, the authoritarian parenting style was associated with positive level of cognitive empathy and authoritative parenting style associated with positive level of emotional empathy while both permissive and uninvolved parenting styles associated with negative level of emotional empathy. In addition, only one difference of empathy was found among authoritative and permissive parenting style, authoritative tended to have a higher level of emotional empathy than permissive. Since permissive and uninvolved parenting styles were found to be associated with low level of empathy, authoritative parenting style was positively associated with emotional empathy. These findings could be profitable on widening the framework of parenting for the child's benefit.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและการร่วมรู้สึก โดยศึกษาในกลุ่มเยาวชนผู้กระทำผิดอายุ 14-22 ปีในสถานพินิจกลางจำนวน 206 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสำรวจรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู และแบบวัดการร่วมรู้สึกโดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และหาความแตกต่างของการร่วมรู้สึกในแต่ละรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูสัมพันธ์กับการร่วมรู้สึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยการอบรมเลี้ยงดูแบบควบคุม สัมพันธ์ทางบวกกับการร่วมรู้สึกทางความคิด และการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่สัมพันธ์ทางบวกกับการร่วมรู้สึกทางอารมณ์ ในขณะที่การอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจและแบบทอดทิ้งสัมพันธ์ทางลบกับการร่วมรู้สึกทางอารมณ์ นอกจากนี้พบว่ายังพบว่าการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่มีระดับการร่วมรู้สึกทางอารมณ์สูงกว่าการอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจ จากผลการศึกษา พ่อแม่และบุคคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับเด็กควรตระหนักถึงความสำคัญของรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูที่มีความสัมพันธ์กับระดับของการร่วมรู้สึก โดยพยายามหลีกเลี่ยงรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจและแบบทอดทิ้ง ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่ซึ่งมีส่วนช่วยสนับสนุนให้เกิดพัฒนาการของการร่วมรู้สึก ซึ่งทำเด็กมีพัฒนาการทางสังคมที่สมบูรณ์และนำไปสู่การมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างสงบสุขต่อไป
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและการร่วมรู้สึก โดยศึกษาในกลุ่มเยาวชนผู้กระทำผิดอายุ 14-22 ปีในสถานพินิจกลางจำนวน 206 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสำรวจรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู และแบบวัดการร่วมรู้สึกโดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และหาความแตกต่างของการร่วมรู้สึกในแต่ละรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูสัมพันธ์กับการร่วมรู้สึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยการอบรมเลี้ยงดูแบบควบคุม สัมพันธ์ทางบวกกับการร่วมรู้สึกทางความคิด และการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่สัมพันธ์ทางบวกกับการร่วมรู้สึกทางอารมณ์ ในขณะที่การอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจและแบบทอดทิ้งสัมพันธ์ทางลบกับการร่วมรู้สึกทางอารมณ์ นอกจากนี้พบว่ายังพบว่าการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่มีระดับการร่วมรู้สึกทางอารมณ์สูงกว่าการอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจ จากผลการศึกษา พ่อแม่และบุคคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับเด็กควรตระหนักถึงความสำคัญของรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูที่มีความสัมพันธ์กับระดับของการร่วมรู้สึก โดยพยายามหลีกเลี่ยงรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจและแบบทอดทิ้ง ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่ซึ่งมีส่วนช่วยสนับสนุนให้เกิดพัฒนาการของการร่วมรู้สึก ซึ่งทำเด็กมีพัฒนาการทางสังคมที่สมบูรณ์และนำไปสู่การมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างสงบสุขต่อไป
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University