AC-Proceeding Document
Permanent URI for this collection
Browse
Browsing AC-Proceeding Document by Issue Date
Now showing 1 - 19 of 19
Results Per Page
Sort Options
- ItemStability test of gamma irradiated laboratory animal diets and bedding in relation to nutritional value and sterility property(2009) K. Kengkoom; S. Ampawong; Mahidol University. National Laboratory Animal Centre
- Itemผลกระทบของสภาวะการเก็บรักษาตัวอย่างต่อค่าเคมีคลินิคในซีรั่มของหนูแรท(2010-02-03) วรรณี อังคศิริสรรพ; Wannee Angkhasirisap; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ.This study assessed the stability of 12 clinical biochemistry analyses in rat serum which storage in freezer at -20°C and -70°C Samples were analyzed by automate chemistry analyzer at time 0 and then liquids stored at time point including 1, 2 and 3 months. We found that the storage temperature and time affect to the difference in analyzed values. Especially, enzyme alanine aminotransferase of -20°C serum storage had statistic significant change (p≤0.01) through the time. For the further design studies should be considered the variation for these factors.
- Itemการดูแลทางการแพทย์โดยสัตวแพทย์ด้านสถานภาพสุขภาพสัตว์ทดลองปลอดเชื้อจำเพาะของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล(2010-02-03) Taweesak Ketjareon; Wanlop Likitsuntonwong; Yaowaluk Panavechkijkul; Ornuma Singha; Sumate Ampawong; Kanchana Kengkoom; ทวีศักดิ์ เขตเจริญ; วัลลภ ลิขิตสุนทรวงศ์; อรอุมา สงหะ; เยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุล; สุเมธ อําภาวงษ์; กาญจนา เข่งคุ้ม; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติVeterinary medical care program of National Laboratory Animal Center, Mahidol University (NLAC-MU) followed by Guide for the Care and Use of Laboratory Animals (NRC, 1996) which identified health status of Specific Pathogen Free animal including C57BL/6Mlac, BALB/cMlac, C3H/HeMlac, DBA/2Mlac, BALB/cMlac-nu, SHR/Kyo and WMN/Nrs. This program consists of daily observation and health monitoring program (short and long panel). Major clinical signs of illness from observation found eye abnormality, trauma/injury and genetic/congenital disease. The results show that there is no association between clinical signs of illness animal and microbiological contamination following specific pathogen list. Both Short and long panel results are entirely negative. Health status of SPF animal of NLAC-MU is free from all microbiological in specific pathogen list.
- ItemStability of Nutritional and Sterility Properties of Irradiated and Autoclaved Diets and Their Effect on the Sprague–Dawley Rat(2010-10) S Ampawong; K KengkoomCobalt-60 gamma radiation has been used as an alternative method to sterilize laboratory animal diet for specific pathogenfree colonies at our institution since 2008. The purpose of this study was to compare shelf life in terms of nutritional and sterility properties of irradiated and autoclaved diets with their effect on 20 mate pairs of Sprague–Dawley rat. Validated gamma irradiation dose and autoclaved temperature that could be used to completely sterilize entire batches were 15 to 20 kGy and 121 °C for 15 min, respectively. The stability of crude protein, fat, calcium, phosphorus, and vitamin E of both diets was preserved for 6 mo. Autoclaved sterilization process led to significantly reduced vitamin A (nonautoclaved; 22.10 ± 0.65, 0 mo; 9.56 ± 0.21, 3 mo; 9.36 ± 0.42, 6 mo; 16.50 ± 0.77 IU/g; P < 0.01), vitamin B1 (nonautoclaved; 0.96 ± 0.15, 0 mo; 1.11 ± 0.08, 3 mo; 0.39 ± 0.02, 6 mo; 0.57 ± 0.02 mg/100g; P <0.01), and vitamin B2 (nonautoclaved; 2.43 ± 0.54, 0 mo; 0.67 ± 0.01, 3 mo; 1.17 ± 0.18, 6 mo; 1.81 ± 0.02 mg/100g; P < 0.01); moreover, their stability were not preserved at 3 mo. In contrast to this, the irradiated diet’s stability was preserved for 6 mo. This might be explained by the high temperature of steam and the increase in the humidity percentage in the autoclaved diet 699 Abstracts of scientific papers 2010 AALAS National Meeting (nonautoclaved; 7.02 ± 0.03, 0 mo; 8.15 ± 0.02, 3 mo; 8.09 ± 0.08, 6 mo; 8.89 ± 0.13%; P < 0.01) since increased water content has been shown to accelerate vitamin destruction but the stability of amino acids or protein quality seems unaffected. The sterility property of both diets was preserved for 6 mo. All related parameters reflected in animal health, consumption rate (16.55 ± 0.99, 16.65 ± 0.96 g/d), fertility (82.50 ± 1.44, 81.25 ± 1.72%), wean (98.87 ± 0.87, 100.00 ± 0.00%), production (81.45 ± 1.25, 81.25 ± 1.72%), litter size (10.32 ± 0.21, 10.60 ± 0.48%), clinical, hematological, and histologic of several organs, in both diets were preserved. The study revealed that the nutritional value tended to be reduced, particularly of vitamin A, B1, and B2, in autoclaved sterilization process. There were no adverse effects of either diet on the animals. The expected shelf life of irradiated and autoclaved diets is 3 and 1 mo, respectively
- ItemThe Effects of Using Tramadol Hydrochloride as Preoperative Analgesia on the Anesthetic Impact of Tiletamine/ Zolazepam in Sprague–Dawley Rat(2010-10) W Likitsuntonwong; S Ampawong; Mahidol University. National Laboratory Animal CentrePreanesthetic analgesia is effective for relief of postoperative pain in humans and animals by preventing surgical stimuli; however, adverse effects such as respiratory depression and prolonged recovery time may occur. Our objective was to compare the effects of preanesthesia administration of tramadol hydrochloride on anesthesia with combination of tiletamine/ zolazepam and anesthesia of tiletamine/zolazepam alone. Sprague–Dawley rats were randomly placed into 2 groups; the first group received tiletamine/zolazepam alone (40 mg/ kg IM; n = 4), and the second received tiletamine/zolazepam at the same dose as the first group 1 h after receiving tramadol hydrochloride (10 mg/kg IM; n = 5). The respiratory rate, mucus membrane, righting reflex, and scoring pedal reflex (1 to 3 grade) were monitored every 15 min. There was no significant difference on duration of surgical anesthesia period (45.00 ± 8.50 cf, 45.00 ± 7.74 min). The tiletament/zolazepam with tramadol hydrochloride group showed less total sleeping time (90.00 ± 10.95 cf, 105.00 ± 13.90 min, P < 0.01), recovery time (60.00 ± 8.42 cf, 75.00 ± 11.70 min, P < 0.01), pedal score on total sleeping time (1.66 ± 0.08 cf, 2.07 ± 0.11, P < 0.05), and respiratory rate at that time (126.70 ± 4.09 cf, 155.52 ± 3.86 breath/min, P < 0.05). There were no anesthetic complications. The study indicated that administration of tramadol hydrochloride 1 h before tiletamine/zolazepam could reduce total sleeping time and recovery time with lower pain response.
- ItemValidated free standing biosecurity chamber for SPF animals. Abstracts & Programme Handbook(2011) K. Kengkoom; K. Chaimongkolnukul; S. Cherdyhu; W. Wisawatol; R. Inpunkaew; S. Ampawong; Mahidol University. National Laboratory Animal Centre
- ItemEffect of rat collagen on bone formation in calvarial defect in Sprague-Dawley rats(2011) T. Ketjareon; W. Likitsontonwong; Y. Panavechkijkul; O. Singha; S. Ampawongand; K. Kengkoom; Mahidol University. National Laboratory Animal Centre
- Itemเนื้องอกปอดชนิด Alveologenic Carcinoma ในหนูเม้าส์สายพันธุ์ BALB/cMlac(2012) เยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุล; สุเมธ อาภาวงษ์; ประเวศ ทองศิริ; อรอุมา สิงหะ; กาญจนา เข่งคุ้ม; ทวีศักดิ์ เขตเจริญ; มหาวิทยาลัยมหิดล.ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานประกันคุณภาพ; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลอง; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานบริการวิชาการจากการชันสูตรซากหนูเม้าส์สายพันธุ์ BALB/cMlac เพศเมีย อายุ 15 สัปดาห์ มีสภาพร่างกายผอม (คะแนนร่างกายเท่ากับ2) หายใจหอบ ซึมและแยกตัวออกจากกลุ่ม ที่ใต้ผิวหนังบริเวณหัวไหล่ด้านซ้ายมีก้อนเนื้อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5×1.5 เซนติเมตร ผิวขรุขระ เนื้อแน่น และมีก้อนขนาดเล็กสีขาวกระจายทั้งปอด ผลการเพาะเชื้อไม่พบการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย จากการวินิจฉัยทางจุลพยาธิวิทยาพบว่า เนื้องอกมีการจัดเรียงตัวเป็นต่อม เรียงตัวตั้งแต่ชั้นเดียว ถึงหลายชั้นเชื่อมต่อกันโดยมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นฐาน ในรูปแบบ papillary pattern ที่ล้อมรอบด้วยลักษณะของ alveolar lining cell บ่งชี้ว่าเป็นเนื้องอกชนิด “Alveologenic carcinoma”(type2) โดยมีการแพร่กระจายของเนื้องอกชนิดนี้ไปยังผิวหนัง ในลักษณะ adenomatous pattern ซึ่งพบได้น้อยมากในสัตว์ทดลองชนิดหนูเม้าส์ (Mus Musculus)
- Itemการศึกษาความดันโลหิตในหนูแรทสายพันธุ์ความดันโลหิตสูงของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ(2012) สุรชัย จันทร์ทิพย์; อภิสิทธิ เหล่าสันติสุข; พรรัตนา ช่อมณี; วสันต์ แก้วมณี; สุเมธ อาภาวงษ์; คิน หม่อง ซอ; กาญจนา เข่งคุ้ม; Surachai Chantip; Apisit laosantisuk; Pornrattana Chomanee; Wasan Keawmanee; Sumate Ampawong; Zaw, Khin Maung; Kanchana Kaengkhum; Mahidol University. Office of Academic Services, National Laboratory Animal Center; Mahidol University. Office of Veterinary Medical Care, National Laboratory Animal CenterSpontaneous hypertensive rat (SHR) is a genetic model of hypertension rat that is wildly accepted in biomedical research because its characteristic might be shared with idiopathic hypertension in human. National Laboratory Animal Center, Mahidol University has been breeding and selecting this strain (as subline namely SHR/KyoMlac) that kindly donated by Kyoto University, Japan. This study was conducted to evaluate the blood pressure (systolic and diastolic) and growth rate between SHR/KyoMlac (hypertensive) and WMN/NrsMlac (normotensive). The results showed that systolic blood pressure of adult hypertensive rat (130-150 mmHg) was significantly higher than adult normotensive rat (90-120 mmHg.) Contrast to growth rate of hypertensive rat was significantly lower than normotensive rat.
- ItemEffect of aged and sex on clinical chemistry values in Dunklin Hartley guinea pig(2014) Wannee Angkhasirisap; Diloke Butadej; Nuengruethai Pichai; Thanaporn Pinpart; Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Office of Quality assurance; Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Office ProductionThe Dunkin Hartley guinea pigs are widely used as the animal model in toxicity testing and immunological medicine. However, there was a few available data on clinical chemistry in guinea pig. Therefore, we managed this study to provide supportive information for developing the reference range for 13 clinical biochemistry parameters that pertain to metabolism and function of the organ (kidney and liver). Blood sample from male and female guinea pigs were obtained at one, three and six months of age. Of 13 parameters analysis, found 10 parameters were affected by age and sex. Especially, Alkaline phosphatase clarity showed decreasing trend along age in contrast to the total protein, albumin and glucose developed increasing in female. All the age group, values in female showed higher than male at p <0.05. These data are compared with the other published reports that similarity trend in some parameters, The study data should be useful for further studies in guinea pigs
- ItemSecondary Sex Ratio in Three Inbred Mice Strains at National Laboratory Animal Center, Mahidol University(2014) Thanaporn Pinpart; Apisit Laosantisuk; Wanson Keawmanee; Kanchana Kengkoom; Mahidol University.Laboratory Animal Production, Office of Academic ServicesThe three inbred mice strains at Nation Laboratory Animal Center’s (NLAC) foundation colonies were looked for secondary sex ratios. The data were collected from all mating pair from the year 1999 to the year 2012. These 3 strains consist of BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac. Their sex ratios were 0.49, 0.50 and 0.52, respectively. Statistical analysis (binomial-test) indicated that secondary sex ratios of 3 inbred mice strains at NLAC do not deviate from the theoretical ratio. Moreover, they are consistent with other laboratories. This is the revelation of the common practice strong stabilizing selection for the intermediate sex ratio at NLAC’s foundation colonies.
- Itemการศึกษาการบริโภคอาหารและน้ำรวมทั้งอัตราการเจริญเติบโตของหนู Outbred Wistar Rat ในระบบการเลี้ยงแบบ Maximum Barrier(2014) พนารัตน์ สวัสดิ์กว้าน; ธนพร พิณพาทย์; Panaratt Sawadquan; Thanaporn Pinpart; Mahidol University. National Laboratory Animal Centerศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ดำเนินการผลิตหนู Outbred Wistar Rat ภายใต้ระบบการเลี้ยงแบบ Maximum Barrier ที่มีการควบคุม Heat, Ventilating and Air Conditioning system (HVAC) กำหนดการให้อาหารและน้ำแบบให้มีกินตลอดเวลา (ad libitum) จึงมีปริมาณอาหารและน้ำเหลือ ดังนั้นจึงได้ดำเนินการศึกษาการบริโภคอาหารและน้ำของหนู Outbred Wistar Rat อายุ 3-12 สัปดาห์ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณการบริโภคอาหารและน้ำในแต่ละสัปดาห์ และไปกำหนดปริมาณการให้ที่เหมาะสม ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่า หนูเพศผู้มีการบริโภคอาหารและน้ำมากกว่าหนูเพศเมียแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดย p น้อยกว่า 0.0007 และ p น้อยกว่า 0.0025 ตามลำดับ โดยมีปริมาณการบริโภคอาหารและน้ำ สอดคล้องกับมาตรฐานการให้อาหาร 15-30 กรัม/ตัว/วัน และ น้ำ 24-60 มิลลิลิตร/ตัว/วัน ในหนูโตเต็มวัย และทำให้สามารถกำหนดปริมาณการให้อาหารและน้ำของหนูในแต่ละสัปดาห์ ซึ่งจะส่งผลให้สามารถลดปริมาณอาหารและน้ำที่เหลือจากการให้หนูลงได้ รวมทั้งลดต้นทุนลง สำหรับข้อมูลอัตราการเจริญเติบโตของหนูดังกล่าวพบว่า ทั้งหนูเพศผู้และเพศเมียมีอัตราการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสัปดาห์ที่ 3-6 แต่ในสัปดาห์ที่ 7-12 สัปดาห์ มีอัตราการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ เกือบคงที่ ซึ่งสอดคล้องกับอัตราการเจริญเติบโตของหนู Outbred Wistar Rat ของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ ทั้งนี้ข้อมูลอัตราการเจริญเติบโตนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในงานวิจัยที่ใช้หนู Outbred Wistar Rat ที่เลี้ยงภายใต้ระบบการเลี้ยงแบบ Maximum Barrier-HVAC ได้ต่อไป
- Itemการจัดตั้งโคโลนีหนูแรทสายพันธุ์ห่าง Sprague Dawley ในหน่วยปลอดเชื้อจำเพาะที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล(2014) พรรัตนา ช่อมณี; กมลพร รุ่งโรจน์จินดา; อภิสิทธ์ เหล่าสันติสุข; นาถนภิส ประทีป ณ ถลาง; กาญจนา เข่งคุ้ม; Pornrattana Chormanee; Kamolporn Roongrotchinda; Apisit LaosantisukNational Laboratory Animal Center (NLAC), Mahidol University breeds and supplies various types of high quality laboratory animal for scientific purpose. For development and management of husbandry system, NLAC has bred Sprague Dawlay rat in low barrier system previously. Later, Sprague Dawlay rat colony has been established in maximum barrier with Heating, Ventilating and Air Conditioning (HVAC) under the specific pathogen free system (SPF) by using hysterectomy section. In term of microbiological testing, the result shows that they were free from pathogens in specific pathogens list of NLAC. Breeding performance of F1 and F2 including percentage of fertility (%F) were 87.36 and 93.19, percentage of production (%P) were 78.54 and 78.47, percentage of weaning (%W) were 85.96 and 84.29. Moreover, litter size of F1 and F2 were 11.33 and 10.79. Furthermore, the statistical analysis (student t-test) indicated that the breeding performance of 2 generations (F1 and F2) in Maximum barrier with HVAC colony were not significant different from breeding performance of low barrier colony.
- Itemการเปรียบเทียบวิธีการขจัดแคลเซียมในกะโหลกหนูแรทสำหรับการศึกษาโครงสร้างและเนื้อเยื่อ(2554) เอกรินทร์ กลิ่นคำหอม; กาญจนา เข่งคุ้ม; สุเมธ อำภาวงษ์; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ.ในงานการศึกษาด้าน Histopathology ของโครงสร้างเซลล์กระดูกกะโหลกศีรษะนั้น กระบวนการขจัด แคลเซียมออกจากเนื้อเยื่อ มีความจําเป็นต้องใช้สารละลาย Decalcifying Solution ที่มีประสิทธิภาพที่เหมาะกับ วัตถประสงค์์การใช้งาน ในการศึกษาครั้้งนี้้จัดทําขึ้นเพื่อ ทําการทดสอบประสิทธิภาพการขจดแคลเซีียมของกะโหลก ศีรษะหนูแรท สารละลาย Decalcifying Solution ชนิดต่างๆ ที่สามารถเตรียมได้จากสารเคมีที่มีใช้ภายใน ห้องปฏิบัติการงานตรวจสอบคุณภาพ สํานักงานประกันคุณภาพ ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติมหาวิทยาลยมหิดล ได้แก่สารละลาย 10% EDTA+Tris สารละลาย 6% Acetic สารละลาย 5% HCl และสารละลาย 25% Formic โดย จะทําการประเมินประสิทธิภาพทางกายภาพ (Physical) ทางเคมี (Chemical) และโครงสร้างและการติดสีจากสไลด์ เนื้้อเยื่อ (Histomorphology) จากการศึกษาพบว่าสารละลาย 10% EDTA+Tris และสารละลาย 6% Acetic มี ประสิทธิภาพที่เหมาะสมกับการศึกษาโครงสร้างเซลล์กระดูกกะโหลกศีรษะหนูแรท เพราะสามารถแสดงโครงสร้าง องค์ประกอบภายในเซลล์ได้ชัดเจน ความสามารถในการจําแนกเซลล์และคณสมบัติทางกายภาพ
- Itemความคงตัวของค่าโลหิตวิทยาหนูแรท สายพันธุ์ Sprague-Dawley สำหรับการตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่องอัตโนมัติรุ่น Abbott CELL-DYN® 3700(2555) เอกรินทร์ กลิ่นคำหอม; อัญชลี สิริมนตาภรณ์; สุเมธ อำภาวงษ์; ดิลก บุตะเดช; ระพี อินปั๋นแก้ว; กาญจนา เข่งคุ้ม; Aekkarin Klinkhamhom; Aunchalee Sirimontaporn; Sumate Ampawong; Dilok Butadej; Rapee Inpunkaew; Kanchana Kengkoom; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานประกันคุณภาพ; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลอง; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานบริการวิชาการความคงตัวของเลือดเป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งต่อความถูกต้องแม่นยำของการวิเคราะห์ค่าทางโลหิตวิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสุขภาพของสัตว์ทดลองที่มีปริมาณตัวอย่างจำนวนมาก เพื่อ กำหนดวิธีการเก็บรักษาตัวอย่างเลือดของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลให้เหมาะสม รายงานนี้จึงเป็น การศึกษาผลกระทบของอุณหภูมิ (6±3 o C 23±3 o C และ 37±3 o C) และระยะเวลา (10 30 60 นาที4 8 24 48 และ 72 ชั่วโมง) ในการเก็บรักษาตัวอย่างเลือด ต่อค่าโลหิตวิทยาต่างๆ (WBC RBC Hb HCT MCV MCH MCHC PLT RDW PDW MPV PCT %Neutrophil %Lymphocyte %Eosinophil %Basophil และ %Monocyte) ของหนูแรท สายพันธุ์ Sprague Dawley เพศผู้ จำนวน 5 ตัว ด้วยเครื่องตรวจเลือดอัตโนมัติ Abbott CELL-DYN® 3700 automate analyzer ผลการทดลองพบว่า ค่า MCV และ RDW เพิ่มขึ้นในขณะที่ ค่า WBC และ MCHC ลดลงอย่างมีนัยสำคัญที่24 ชั่วโมง และ 8 ชั่วโมงเมื่อเก็บรักษาตัวอย่างเลือดไว้ที่อุณหภูมิ 6±3 o C 23±3 o C และ 37±3 o C ตามลำดับ จากการศึกษานี้จึง สรุปได้ว่าควรทำการตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยาภายใน 8 ชั่วโมงหลังจากการเก็บรักษาตัวอย่างเลือดไว้ที่อุณหภูมิ 6±3 o C และ 23±3 o C ระยะเวลาการเก็บรักษาตัวอย่างที่เพิ่มขึ้นจะยิ่งทำให้ผลการวิเคราะห์มีความแปรปรวนมากขึ้น ตามไปด้วย
- Itemเนื้องอกชนิด Papillary ependymoma ในกระต่าย(2555) อรอุมา สิงหะ; เอกรินทร์ กลิ่นคำหอม; ทวีศักดิ์ เขตเจริญ; เยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุล; สุเมธ อำภาวงษ์; กาญจนา เข่งคุ้ม; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานประกันคุณภาพ; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลอง; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานบริการวิชาการกระต่ายสายพันธุ์ NZW เพศผู้ อายุ 37 วัน น้้ำหนัก 494 กรัมพบอาการผิดปกติทางระบบประสาทคือ หัวส่าย ตากระตุกทั้งสองข้าง รวมทั้งเดินเซเล็กน้อย ผลการผ่าซากพบถุงน้้ำสีขาวใสบริเวณพื้นสมองตำแหน่งอยู่ตรงกลางของ optic chiasma พอดี พบก้อนมีสีขาวเทาขนาดประมาณ 2.5x3 มม. เนื้อค่อนข้างแน่น ผิวหยักอยู่ภายในโพรงของ 3 rd ventricle และพบ hydrocephalus ขนาดเล็กร่วมด้วย ผลการตรวจทางโลหิตวิทยา เคมีคลินิกและเซลล์วิทยาอยู่ใน เกณฑ์ปกติ ผลการตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบว่ามีการกระจายตัวของเนื้องอกภายในช่องสมองและเนื้อสมองส่วน sub-ependymal areas แบบ papillary projection โดยมีลักษณะการเรียงทั้งแบบ rosette formation และ pseudorosette formation ผลการย้อมด้วยเทคนิค Immunohistochemistry พบว่าไซโพลาสซึมของเซลล์เนื้องอกมี immunoreactive ต่อ vimentin ในลักษณะ filamentous structure แต่ไม่พบ immunoreactive ต่อ cytokeratin AE1/AE3 (pan cytokeratin) ผลการทดสอบบ่งชี้ว่าเป็นเนื้องอกชนิด Papillary ependymoma ไม่พบการแพร่กระจาย ของเนื้องอกไปยังอวัยวะอื่น ถือเป็นเนื้องอกที่พบยากและเป็นรายงานครั้งแรกในประเทศไทยที่พบเนื้องอกชนิดนี้ใน กระต่าย
- Itemพยาธิสภาพของหัวใจจากการเหนี่ยวนำให้เกิดการขาดเลือดแบบเฉียบพลันในหนูแรท(2555) อรอุมา สิงหะ; เยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุล; สุเมธ อำภาวงษ์; เอกรินทร์ กลิ่นคำหอม; กาญจนา เข่งคุ้ม; ทวีศักดิ์ เขตเจริญ; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลอง; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานประกันคุณภาพ; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานบริการวิชาการการศึกษานี้เป็นการทวนสอบระดับความรุนแรงของการเกิดพยาธิสภาพหัวใจขาดเลือดและวิการอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง ที่เหนี่ยวนำให้เกิดขึ้นโดยการมัดเส้นเลือด left anterior descending coronary artery ในหนูแรทสายพันธุ์ Wistar ผลการศึกษาพบว่า ระดับความรุนแรงของการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย, intermuscular edema, ปริมาณเม็ด เลือดขาว, congestion, hemorrhage และระดับการบวมน้้ำรอบเส้นเลือด (perivascular edema) ที่ระยะเวลา 3 ชั่วโมงหลังการผ่าตัด มีค่าน้อยกว่าที่ระยะเวลา 24 ชั่วโมงหลังการผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญ (p 0.05) อย่างไรก็ดีไม่พบ ความแตกต่างของความรุนแรงทางพยาธิสภาพอย่างมีนัยสำคัญในระหว่างสัตว์แต่ละตัว ทั้ง 3 และ 24 ชั่วโมงหลังการ ผ่าตัด จะเห็นได้ว่า animal model นี้เหมาะสมจะใช้สำหรับการศึกษาโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้จะเป็น ข้อมูลพื้นฐานทางด้านพยาธิวิทยาทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ จากการเหนี่ยวนำให้เกิดการขาดเลือดของหัวใจโดย การผ่าตัด ต่อไปในอนาคต
- Itemสถานภาพสุขภาพหนูสายพันธุ์ SCID ของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล(2555) เยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุล; ทวีศักดิ์ เขตเจริญ; อรอุมา สิงหะ; สุเมธ อำภาวงษ์; ดิลก บุตะเดช; เอกรินทร์ กลิ่นคำหอม; ประเวศ ทองศิริ; กาญจนา เข่งคุ้ม; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลอง
- Itemสื่อสารฉับไว ไร้กระดาษ(2564) ชไมพร ตุงคะเสรีรักษ์; Chamaiporn Tungkasareerukการใช้แนวคิด LEAN ในการพัฒนากระบวนการติดต่อสื่อสาร (Communication) ของฝ่ายการคลัง ผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ และ Social Network ได้แก่ ระบบ eDocument / ระบบ Share point : MUSIS / ระบบ SivWork และ Application Line แทนการใช้เอกสารบันทึกข้อความ เพื่อส่งถึงงานต่าง ๆ ภายในฝ่ายการคลัง และภาควิชา/หน่วยงาน การ ดำเนินการสามารถลดขั้นตอน ลดระยะเวลา เพื่อให้บุคลากรทั้งภายในและ ภายนอกฝ่ายการคลังรับรู้/เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดการใช้ ทรัพยากรให้กับคณะฯ ได้แก่ ภาระงานบุคลากร กระดาษและหมึกพิมพ์ นอกจากนี้การพัฒนาระบบการติดต่อสื่อสายยังเป็นการเชื่อมโยง ทักษะ ความรู้ ความสามารถ ของการสื่อสาร (Communication for Skill) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ พัฒนากระบวนการทำงานลุล่วงสำเร็จอย่าง มีประสิทธิภาพ