EG-Analysis Report
Permanent URI for this collection
Browse
Recent Submissions
- Itemงานวิเคราะห์ การสื่อสารบนเพจเฟซบุ๊ก ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล(2567) อินท์ชลิตา สุวรรณรังสิมา
- Itemงานวิเคราะห์การสื่อสารบนเพจเฟซบุ๊กคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล(2564) ทิพย์วรรณ อุดทาคำ
- Itemงานวิเคราะห์เรื่อง การวิเคราะห์งบการเงิน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2557 – 2561(2563) ปวีณา ทองมา; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์. งานคลังและพัสดุ
- Itemวิเคราะห์การปรับปรุงขนาดขาปลั๊กเพื่อลดความสูญเสียของอุปกรณ์(2563) สันทัด มาทน; ชัยวิสิทธิ์ วิมลลักษณ์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- Itemวิเคราะห์ ออกแบบ และสร้าง Loopback Adapter เพื่อการระบุตำแหน่งการเชื่อมต่อของสาย UTP บน Switch หรือ Hub(2563) สันทัด มาทน; ชัยวิสิทธิ์ วิมลลักษณ์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- Itemการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ด้วยเทคนิค การวิเคราะห์ความสําคัญและผลการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล(2562) มะลิวรรณ พฤฒารา; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวังและความพึงพอใจต่อการใช้งาน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โดยทำการเก็บข้อมูลผู้มาใช้บริการ จำนวน 289 ตัวอย่าง และทำการวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย นำเสนอผลการเปรียบเทียบระหว่างความคาดหวัง และ ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการด้วยเทคนิค Importance Performance Analysis (IPA) และทดสอบสมติ ฐานการวิจัยด้วยค่าสถิติ t-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยความคาดหวัง และความพึงพอใจโดยรวมของผู้มาใช้บริการอยู่ในระดับมาก แต่คะแนนความพึงพอใจมีค่าต่ำกว่าคะแนน ความคาดหวังในภาพรวม โดยมีคะแนนเฉลี่ย ความคาดหวังอยู่ที่ 4.47 ส่วนคะแนนความพึงพอใจอยู่ที่ 3.81 คะแนน เมื่อทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการต่อ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในแต่ละมิติด้วยเทคนิค IPA พบว่า มิติด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ มิติด้านระบบ เครือข่าย และ มิติด้านโปรแกรมการใช้งาน ทุกคุณลักษณะตกอยู่ใน Quadrant 1 ซื่งเป็นคุณลักษณะที่มี ความสำคัญมากจำเป็นต้องได้รับความสนใจและเร่งแก้ไขปรับปรุง เพราะถือเป็นจุดอ่อนสำคัญขององค์กร ใน ส่วนมิติสุดท้ายคือด้านห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มี 9 คุณลักษณะที่ตกอยู่ใน Quadrant 1 และ มี 4 คุณลักษณะ ที่อยู่ใน Quadrant 2 ซึ่งหมายถึงในปัจจุบัน องค์กรมีการดำเนินงานที่ดีอยู่แล้ว ไม่มีความ จำเป็นต้องให้ความสำคัญในจัดสรรทรัพยากรเพื่อการปรับปรุง โดยผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยมาจัดทำข้อเสนอ แนวทางการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อยกระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
- Itemการวิเคราะห์ขั้นตอนกระบวนการจัดสรรเงินให้โครงการบริการวิชาการ กรณีศึกษา : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล(2561) ธัญญลักษณ์ วงษ์ปาน; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์. งานคลังและพัสดุ
- Itemงานวิเคราะห์เรื่อง การเปรียบเทียบคุณภาพนักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างระบบโควต้า และระบบแอดมิชชั่น(2558) ละออ เอื้อจิตตระกูล; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
- Itemการวิเคราะห์งานงบประมาณรายจ่าย ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2555(2555) สุกัญญา ลี้เจริญ; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี