Publication:
ผลการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นหลักในการป้องกันการใช้แอมเฟตามีนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐม

dc.contributor.authorปุณยนุช จุลนวลen_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorนิรัตน์ อิมามีen_US
dc.contributor.authorสุปรียา ตันสกุลen_US
dc.contributor.authorPunyanuch Chulnoulen_US
dc.contributor.authorManirat Therawiwaten_US
dc.contributor.authorNirat Imameeen_US
dc.contributor.authorSupreya Tansakulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2021-08-23T02:35:02Z
dc.date.available2021-08-23T02:35:02Z
dc.date.created2564-08-23
dc.date.issued2554
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้เป็นการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นหลัก เพื่อป้องกัน การเสพแอมเฟตามีน ศึกษากลุ่มทดลองกลุ่มเดียว กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐม จำนวน 39 ราย โดยเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นหลัก จำนวน 5 ครั้ง รวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องแอมเฟตามีน การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเสพแอมเฟตามีน การรับรู้ความรุนแรงต่อการเสพแอมเฟตามีน ความสามารถด้านการคิดและทักษะการปฏิเสธต่อการเสพแอมเฟตามีนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การจัดโปรแกรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นหลักในการป้องกันแอมเฟตามีน มีส่วนสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้กลุ่มทดลองมีความรู้ การรับรู้ ความสามารถด้านการคิดและทักษะการปฏิเสธอย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้นจึงควรนำรูปแบบ การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นหลักไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อป้องกันยาเสพติดในกลุ่ม เยาวชนและวัยรุ่นในสถานศึกษาen_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research, a one group pretest-posttest design, aimed to investigate the effects of problem-based learning to prevent amphetamine use. The sample group was composed of 39 grade 8 students in a secondary school, Nakornprathom Province, Thailand. The activities used in the experiment were concerned with problem-based learning about amphetamine use and prevention, with a total of 5 learning activities. Data were collected before and after the intervention via questionnaire and learning behavior observation form. The statistics used for data analysis were percentages, means, standard deviations, and paired t-tests. The results showed that after the intervention there was a significantly higher mean score in regard to knowledge about amphetamines, perceived susceptibility of using amphetamines, perceived severity of using amphetamines, critical thinking ability, and refusal skills among the sampled students, compared to before the experimentation (p < 0.05). The results revealed that the implementation of the program applying problem-based learning principles for preventing amphetamine use was effective in promoting knowledge and problem solving skills. The experimental group gained correct information and appropriate knowledge about amphetamines, and improved their critical thinking ability and refusal skills. The recommendation is that problembased learning should be applied in organizing and learning programs for preventing amphetamine use among teenagers and adolescents, with the aim of enhancing their skills in critical thinking ability and refusal skills, which are important life skills for safe living.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 117 (ม.ค.- เม.ย. 2554), 3-14en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63211
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นหลักen_US
dc.subjectแอมเฟตามีนen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.subjectThai Journal of Health Educationen_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นหลักในการป้องกันการใช้แอมเฟตามีนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐมen_US
dc.title.alternativeAn Effect of Problem-Based Learning to Prevent Amphetamine Use Among Grade 8 Student, Nakornprathom Provinceen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/173873

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-manirat-2554-6.pdf
Size:
2.21 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections