Publication: Validation of the Thai Version of ICIQ-VS (International Consultation on Incontinence Questionnaire -Vaginal symptoms) in Thai Women
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Thasala Hospital
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Psychiatry Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Psychiatry Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 1-13
Suggested Citation
Wilailak Sriwat, Jittima Manonai, Chatchawan Sillaphakit, Sirirat Sarit-apirak, Apichart Chittacharoen, วิไลลักษณ์ ศรีวัตร, จิตติมา มโนนัย, ชัชวาล ศิลปกิจ, ศิริรัตน์ สฤษดิ์อภิรักษ์, อภิชาติ จิตต์เจริญ Validation of the Thai Version of ICIQ-VS (International Consultation on Incontinence Questionnaire -Vaginal symptoms) in Thai Women. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 1-13. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79592
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Validation of the Thai Version of ICIQ-VS (International Consultation on Incontinence Questionnaire -Vaginal symptoms) in Thai Women
Alternative Title(s)
การประเมินความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม ICIQ-VS ฉบับภาษาไทยในสตรีไทย
Other Contributor(s)
Abstract
Objective: To determine the psychometric properties of the Thai version of international Consultation on Incontinence Questionaire-Vaginal Symptoms (ICIQ-VS).
Methods: This was a cross-sectional, observation study. Women who attended the urogynecology clinic, whether or not they complaining of vaginal symptoms were enrolled. Participants completed the Thai version of ICIQ-VS before being examined by the gynecologists according to the Pelvic Organ Prolapse Quantification system. About 2 weeks later, the participants who had no treatment returned to the clinic for completion of the retest questionnaire.
Results: Eighty-six women with a mean age of 54.4 years were recruited. The final Thai version of ICIQ-VS questionnaire was developed. It demonstrated good psychometric properties (validity and reliability). With regard to the construct validity, there were statistically significant difference between the symptomatic group (ICIQ-VS 5a > 0) and the asymptomatic group (ICIQ-VS 5a = 0) assessed by vaginal symptom score (VSS) (P < 0.001), sexual matter score (SMS) (P < 0.001) and quality of life (QoLS) (P < 0.001). The test-retest reliability was considered moderate to excellent for all questions.
Conclusion: The Thai version of ICIQ-VS was successfully validated and could assess the severity of pelvic organ prolapse according to the questionnaire score.
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของแบบสอบถาม International Consultation on Incontinence Questionnaire - Vaginal symptoms (ICIQ-VS) ฉบับภาษาไทย วิธีการ: เป็นการศึกษาแบบสังเกตภาคตัดขวาง ในสตรีที่มาตรวจที่คลินิกนรีเวชทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ที่มีและไม่มีอาการทางช่องคลอด โดยอาสาสมัครตอบแบบสอบถาม ICIQ-VS ฉบับภาษาไทย และได้รับการตรวจประเมินภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนด้วยระบบ Pelvic Organ Prolapse Quantification system โดยนรีแพทย์ อีกสองสัปดาห์ต่อมาอาสาสมัครที่ยังไม่ได้รับการรักษาใดๆ กลับมาตอบแบบสอบถามเดิมอีกครั้ง ผลการศึกษา: สตรีทั้งหมด 86 คน ที่มีอายุเฉลี่ย 54.4 ปี เข้าร่วมงานวิจัย แบบสอบถาม ICIQ-VS ได้รับการแปลและพัฒนาเป็นภาษาไทยฉบับสมบูรณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีคุณสมบัติทางจิตวิทยาที่ดีในด้านความถูกต้องและความเชื่อถือได้ เมื่อพิจารณาความถูกต้องของการสร้างแบบสอบถามพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสตรีในกลุ่มที่มีอาการ (ICIQ-VS 5a > 0) และสตรีในกลุ่มที่ไม่มีอาการ (ICIQ-VS 5a = 0) ซึ่งประเมินโดยอาการทางช่องคลอด (P < 0.001) อาการเกี่ยวกับเพศ (P < 0.001) และคุณภาพชีวิตทั่วไป (P < 0.001) ความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามเมื่อทำซ้ำอยู่ในระดับปานกลางถึงดีมากในทุกคำถาม สรุป: แบบสอบถาม ICIQ-VS ฉบับภาษาไทยได้รับการประเมินความถูกต้อง และสามารถใช้ประเมินความรุนแรงของภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนได้ดี
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของแบบสอบถาม International Consultation on Incontinence Questionnaire - Vaginal symptoms (ICIQ-VS) ฉบับภาษาไทย วิธีการ: เป็นการศึกษาแบบสังเกตภาคตัดขวาง ในสตรีที่มาตรวจที่คลินิกนรีเวชทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ที่มีและไม่มีอาการทางช่องคลอด โดยอาสาสมัครตอบแบบสอบถาม ICIQ-VS ฉบับภาษาไทย และได้รับการตรวจประเมินภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนด้วยระบบ Pelvic Organ Prolapse Quantification system โดยนรีแพทย์ อีกสองสัปดาห์ต่อมาอาสาสมัครที่ยังไม่ได้รับการรักษาใดๆ กลับมาตอบแบบสอบถามเดิมอีกครั้ง ผลการศึกษา: สตรีทั้งหมด 86 คน ที่มีอายุเฉลี่ย 54.4 ปี เข้าร่วมงานวิจัย แบบสอบถาม ICIQ-VS ได้รับการแปลและพัฒนาเป็นภาษาไทยฉบับสมบูรณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีคุณสมบัติทางจิตวิทยาที่ดีในด้านความถูกต้องและความเชื่อถือได้ เมื่อพิจารณาความถูกต้องของการสร้างแบบสอบถามพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสตรีในกลุ่มที่มีอาการ (ICIQ-VS 5a > 0) และสตรีในกลุ่มที่ไม่มีอาการ (ICIQ-VS 5a = 0) ซึ่งประเมินโดยอาการทางช่องคลอด (P < 0.001) อาการเกี่ยวกับเพศ (P < 0.001) และคุณภาพชีวิตทั่วไป (P < 0.001) ความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามเมื่อทำซ้ำอยู่ในระดับปานกลางถึงดีมากในทุกคำถาม สรุป: แบบสอบถาม ICIQ-VS ฉบับภาษาไทยได้รับการประเมินความถูกต้อง และสามารถใช้ประเมินความรุนแรงของภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนได้ดี