Publication: Impact of a 2-hour Multi-Approach-Palliative Care Class on Knowledge, Attitudes and Behavior in Fifth-Year Medical Students in Ramathibodi Hospital
Issued Date
2011
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Family Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 34, No. 3 (Jul-Sep 2011), 161-166
Suggested Citation
Watcharaporn Taburee, Darin Jaturapatporn, Sasivimol Ratanasiri, วัชราภรณ์ ตาบูรี, ดาริน จตุรภัทรพร, ศศิวิมล รัตนสิริ Impact of a 2-hour Multi-Approach-Palliative Care Class on Knowledge, Attitudes and Behavior in Fifth-Year Medical Students in Ramathibodi Hospital. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 34, No. 3 (Jul-Sep 2011), 161-166. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79835
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Impact of a 2-hour Multi-Approach-Palliative Care Class on Knowledge, Attitudes and Behavior in Fifth-Year Medical Students in Ramathibodi Hospital
Alternative Title(s)
การประเมินผลการเรียนการสอนด้านความรู้ ทัศนคติและความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5
Abstract
Background: Medical student have traditionally received no education in palliative care. However, in 2002, as part of a revised medical curriculum, Year 5 undergraduates at Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand participated in a 2-hour class in palliative care.
Purpose: The aim of this study was to assess the effect of the education programme from the pre and post self-evaluation form in perceived interest, knowledge, attitude and skills.
Methods: 35 medical students (100%) completed the pre and post self-evaluation form. Stuat Maxwell Analysis was performed to test statistic significance of the improvement.
Results: After the 2-hour class, all students (100%) rate that the highest scale for their interest in palliative care, compared to 62.5% prior to the class. For knowledge, it showed that approximately 80% rated themselves up to average level prior to the class, while 97% rated themselves to be improved to high and highest level after the class. Attitudes toward palliative care tended to be improved by increasing the number of people who rated ‘highest’ for attitude domain from 5.71% to 74.29%. As for the confidence to
Conclusion: This 2-hour lecture has significantly raised 5th year medical students’ understanding of palliative medicine in many domains including interest, knowledge, attitude and skills.
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลของการเรียนการสอน เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในด้านความสนใจ ความรู้ ทัศนคติ และความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาแพทย์ วัสดุและวิธีการ: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental study) โดยวัดผลก่อนและหลังการเรียนการสอน เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 รวม 35 คน ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติวิธี Stuat Maxwell Analysis ผลการศึกษา: หลังจากการเรียนการสอนเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2 ชั่วโมง นักศึกษาแพทย์ทั้งหมด (ร้อยละ 100) ให้ความสนใจในระดับมากที่สุด เทียบกับก่อนจัดการเรียนการสอน (ร้อยละ 62.5) นักศึกษาแพทย์ให้คะแนนระดับความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายเพิ่มขึ้นจากเดิมโดยร้อยละ 80 ให้คะแนนระดับความรู้ระดับต่ำที่สุด ต่ำ และปานกลาง ก่อนการเรียนการสอน แต่ให้คะแนนระดับความรู้เพิ่มเป็นระดับมาก และมากสุดถึงร้อยละ 97 หลังการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์มีทัศนคติในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายดีขึ้นจากเดิม โดยเพิ่มจากร้อยละ 5.71 ซึ่งให้คะแนนทัศนคติดีมากที่สุดต่อการเรียนการสอนวิชานี้ เป็นร้อยละ 74.29 สำหรับเรื่องความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายเดิมนักศึกษาแพทย์ให้ความมั่นใจในระดับน้อยถึงปานกลางร้อยละ 92 และเพิ่มเป็นมั่นใจระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 92 หลังจากจัดการเรียนการสอนเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สรุป: การจัดการเรียนการสอน เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2 ชั่วโมง ให้กับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 สามารถเพิ่มความสนใจ ความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ และความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลของการเรียนการสอน เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในด้านความสนใจ ความรู้ ทัศนคติ และความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาแพทย์ วัสดุและวิธีการ: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental study) โดยวัดผลก่อนและหลังการเรียนการสอน เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 รวม 35 คน ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติวิธี Stuat Maxwell Analysis ผลการศึกษา: หลังจากการเรียนการสอนเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2 ชั่วโมง นักศึกษาแพทย์ทั้งหมด (ร้อยละ 100) ให้ความสนใจในระดับมากที่สุด เทียบกับก่อนจัดการเรียนการสอน (ร้อยละ 62.5) นักศึกษาแพทย์ให้คะแนนระดับความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายเพิ่มขึ้นจากเดิมโดยร้อยละ 80 ให้คะแนนระดับความรู้ระดับต่ำที่สุด ต่ำ และปานกลาง ก่อนการเรียนการสอน แต่ให้คะแนนระดับความรู้เพิ่มเป็นระดับมาก และมากสุดถึงร้อยละ 97 หลังการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์มีทัศนคติในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายดีขึ้นจากเดิม โดยเพิ่มจากร้อยละ 5.71 ซึ่งให้คะแนนทัศนคติดีมากที่สุดต่อการเรียนการสอนวิชานี้ เป็นร้อยละ 74.29 สำหรับเรื่องความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายเดิมนักศึกษาแพทย์ให้ความมั่นใจในระดับน้อยถึงปานกลางร้อยละ 92 และเพิ่มเป็นมั่นใจระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 92 หลังจากจัดการเรียนการสอนเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สรุป: การจัดการเรียนการสอน เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2 ชั่วโมง ให้กับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 สามารถเพิ่มความสนใจ ความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ และความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ