Publication: The performance of peer educators on HIV/AIDS prevention among high school students in Bangkok, Thailand
Submitted Date
2009-06
Accepted Date
2009-08
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.3, (2009), 14-28
Suggested Citation
Saito K, Sillabutra J, จุฑาธิป ศีลบุตร, keiwkarnka B The performance of peer educators on HIV/AIDS prevention among high school students in Bangkok, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.3, (2009), 14-28. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1617
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The performance of peer educators on HIV/AIDS prevention among high school students in Bangkok, Thailand
Alternative Title(s)
การปฎิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนเกี่ยวกับการป้องกันเอชไอวี/เอดส์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
Author(s)
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional descriptive study was conducted to assess the performance
of peer educators on HIV/AIDS prevention among high school students in
Bangkok, Thailand. There were 157 students in this study and data were collected
from eight schools in Bangkok.
50.96% of the peer educators had high performance for peer education on HIV/
AIDS prevention. More than 70% of them performed all kinds of roles for HIV/AIDS
prevention. The role which they performed the most was to facilitate students to think
about their ideas and attitudes (85.99%).
Significant associations were found between performance of peer educators and
duration of working, perception towards peer education, internal motivation, availability
of resources including place, time, training courses and number of training courses
attended, accessibility of resources including place, materials, budget and training courses,
and social support.
The results suggest the need to strategically start selecting and training peer
educators from secondary level, to help them form their opinions about peer education,
to apply criteria of internal motivation to selection of peer educators, to allocate
more time to conduct their activities, to improve accessibility of budget and
materials for them, and to strengthen social support for them in order to improve
their performance.
การศึกษาแบบตัดขวาง เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนเกี่ยวกับการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้คือแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน 157 คนจาก 8 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 50.96 ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนมีระดับการปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องการป้องกันป้องกันเอชไอวี/เอดส์ในระดับสูง มากกว่าร้อยละ 70 ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนทำกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวกับป้องกันเอชไอวี/เอดส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ การช่วยให้นักเรียนปรับแนวความคิดและทัศนคติ การศึกษายังพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนป้องกันเอชไอวี/เอดส์ ได้แก่ ระยะเวลาในการปฏิบัติ การรับรู้ต่อวิธีเพื่อนช่วยเพื่อน ความสมัครใจในการปฏิบัติหน้าที่ การมีปัจจัยต่างๆ ที่สนับสนุนในการปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อน เช่น สถานที่ เวลา การอบรม จำนวนครั้งที่ได้รับการอบรม สิ่งตีพิมพ์ งบประมาณสนับสนุนที่ใช้ในการทำกิจกรรม และการให้การสนับสนุนทางด้านสังคม เช่น การสนับสนุนด้านข้อมูลข่างสาร วัสดุอุปกรณ์และด้านจิตใจกับแกนนำเพื่อนและเพื่อน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าควรเลือกนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเข้าอบรมแกนนำ เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้างแนวความคิดเกี่ยวกับวิธีเพื่อนช่วยเพื่อน และเลือกแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนจากบุคคลที่อยากจะทำโดยสมัครใจ ควรจัดสรรเวลาในการทำกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนให้มากขึ้น ควรจัดเตรียมงบประมาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมและสิ่งพิมพ์อีกทั้งควรให้การสนับสนุนทางด้านสังคม เช่น การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร วัสดุอุปกรณ์และด้านจิตใจกับแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่
การศึกษาแบบตัดขวาง เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนเกี่ยวกับการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้คือแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน 157 คนจาก 8 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 50.96 ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนมีระดับการปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องการป้องกันป้องกันเอชไอวี/เอดส์ในระดับสูง มากกว่าร้อยละ 70 ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนทำกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวกับป้องกันเอชไอวี/เอดส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ การช่วยให้นักเรียนปรับแนวความคิดและทัศนคติ การศึกษายังพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนป้องกันเอชไอวี/เอดส์ ได้แก่ ระยะเวลาในการปฏิบัติ การรับรู้ต่อวิธีเพื่อนช่วยเพื่อน ความสมัครใจในการปฏิบัติหน้าที่ การมีปัจจัยต่างๆ ที่สนับสนุนในการปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อน เช่น สถานที่ เวลา การอบรม จำนวนครั้งที่ได้รับการอบรม สิ่งตีพิมพ์ งบประมาณสนับสนุนที่ใช้ในการทำกิจกรรม และการให้การสนับสนุนทางด้านสังคม เช่น การสนับสนุนด้านข้อมูลข่างสาร วัสดุอุปกรณ์และด้านจิตใจกับแกนนำเพื่อนและเพื่อน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าควรเลือกนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเข้าอบรมแกนนำ เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้างแนวความคิดเกี่ยวกับวิธีเพื่อนช่วยเพื่อน และเลือกแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนจากบุคคลที่อยากจะทำโดยสมัครใจ ควรจัดสรรเวลาในการทำกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนให้มากขึ้น ควรจัดเตรียมงบประมาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมและสิ่งพิมพ์อีกทั้งควรให้การสนับสนุนทางด้านสังคม เช่น การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร วัสดุอุปกรณ์และด้านจิตใจกับแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่