Publication: การสํารวจปัญหาการเข้ารับบริการทางสุขภาพในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ
Issued Date
2565
Resource Type
Language
tha
ISSN
2350-983x
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงพยาบาลหัวเฉียว
ศูนย์วิจัยข้อมูลเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
สาขาวิชาเวชระเบียน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิด
ศูนย์วิจัยข้อมูลเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
สาขาวิชาเวชระเบียน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิด
Bibliographic Citation
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (ม.ค-มิ.ย. 2565), 1-12
Suggested Citation
ธนารีย์ ศรีฤทธิ์, ปรียาภรณ์ ตัวสระเกษ, แสงเทียน อยู่เถา, Thanaree Sririt, Preeyaporn Tuasraket, Sangtien Youthao การสํารวจปัญหาการเข้ารับบริการทางสุขภาพในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (ม.ค-มิ.ย. 2565), 1-12. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79940
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การสํารวจปัญหาการเข้ารับบริการทางสุขภาพในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ
Alternative Title(s)
A Survey of Health Service Problems in the Outpatient Department of Public Hospitals
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาในการเข้ารับบริการทางสุขภาพแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ และศึกษาเปรียบเทียบระดับของปัญหาในการเข้ารับบริการทางสุขภาพแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรัฐ ใน 5 ด้าน คือ ด้านความสะดวกได้รับจากการบริการ ด้านการประสานงาน ด้านอัธยาศัยและการให้เกียรติ ด้านข้อมูลของบริการ และด้านคุณภาพการบริการ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามกับตัวอย่างผู้เคยเข้ารับบริการทางสุขภาพแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ จำนวน 385 ราย ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาด้านความสะดวกที่ได้รับจากบริการอยู่ในระดับที่สูงกว่าปัญหาด้านอื่น ๆ ทั้งหมด การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ Scheffe’s Post Hoc Comparison พบว่า ค่าเฉลี่ยของปัญหาด้านความสะดวกที่ได้รับจากการบริการ มีความแตกต่างกับค่าเฉลี่ยของปัญหาด้านอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อศึกษาเฉพาะปัญหาด้านความสะดวกที่ได้รับจากการบริการจะพบว่า ประเด็นด้านระยะเวลาในการรอคอยในการเข้ารับบริการมีค่าคะแนนสูงที่สุด รองลงมาจะเป็นประเด็นเกี่ยวกับความสะอาดของห้องน้ำ ความเพียงพอของเก้าอี้หน้าห้องตรวจ ความชัดเจนของเอกสาร คำแนะนำ และแผ่นป้ายตามจุดต่าง ๆ ในโรงพยาบาล ตามลำดับ
The purpose of this research was to examine problems of health service in the outpatient department of public hospitals and to compare the levels of 5 health service problems (convenience, coordination, courtesy and respect, medical information, and quality of care) in the outpatient department of public hospitals. This research employed a quantitative research method using survey questionnaires with 385 samples. This research found that health service’s convenience was the most important problem to patients. A one-way ANOVA and a Scheffe’s Post Hoc Comparison revealed that there was a statistically significant difference in the level of health service’s problems between the health service’s convenience and other problems. When considering the health service’s convenience dimension, the samples reported that waiting time in public hospitals was the most important problem, followed by bathroom’s cleanliness, the adequacy of chairs in the examination room, and the clarification of health service and medical documents, instructions, and signs, respectively.
The purpose of this research was to examine problems of health service in the outpatient department of public hospitals and to compare the levels of 5 health service problems (convenience, coordination, courtesy and respect, medical information, and quality of care) in the outpatient department of public hospitals. This research employed a quantitative research method using survey questionnaires with 385 samples. This research found that health service’s convenience was the most important problem to patients. A one-way ANOVA and a Scheffe’s Post Hoc Comparison revealed that there was a statistically significant difference in the level of health service’s problems between the health service’s convenience and other problems. When considering the health service’s convenience dimension, the samples reported that waiting time in public hospitals was the most important problem, followed by bathroom’s cleanliness, the adequacy of chairs in the examination room, and the clarification of health service and medical documents, instructions, and signs, respectively.