Publication: ความคาดหวัง การได้รับการตอบสนอง และความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการของสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2560
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 35, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค 2560), 87-97
Suggested Citation
วีระชัย คุ้มพงษ์พันธุ์, Weerachai Khumphongphan, ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Natta Wongwuttisaroj ความคาดหวัง การได้รับการตอบสนอง และความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการของสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 35, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค 2560), 87-97. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44116
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความคาดหวัง การได้รับการตอบสนอง และความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการของสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Alternative Title(s)
Expectation, Perceived Responsiveness, and Satisfaction of Costumers to Services Obtaining from the Office of Institutional Review Board, Faculty of Nursing, Mahidol University
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของการรับรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรค ความและความต้องการบริการเพิ่มเติม ของผู้รับบริการ และความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและการได้รับการตอบสนองกับความพึงพอใจของผู้รับบริการ จากสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณาแบบสหสัมพันธ์
วิธีดำเนินการวิจัย: เก็บข้อมูลจากผู้รับบริการที่ขอรับการพิจารณารับรองโครงการวิจัยจากคณะกรรมการฯ ในปี พ.ศ. 2555-2557 จำนวน 71 คน (ร้อยละ 34.8) โดยแบบสอบถามออนไลน์
ผลการวิจัย: กิจกรรมการบริการที่ผู้รับบริการคาดหวังมากที่สุด ได้แก่ ระยะเวลาที่ผู้รับบริการทราบผลการพิจารณาในแต่ละกระบวนการฯ (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 86.39, SD = 22.24) กิจกรรมการบริการที่ได้รับการตอบสนองมากที่สุด ได้แก่ เว็บไซต์ของสำนักงานฯ (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 85.45, SD = 22.53) กิจกรรมการบริการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด ได้แก่ การให้คำแนะนำในด้านธุรการจากเจ้าหน้าที่สำนักงานฯ (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 89.32, SD = 18.91) ทั้งนี้ ความคาดหวังมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการได้รับการตอบสนองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และการได้รับการตอบสนองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .700 และ .595 ตามลำดับ, p < .01) ส่วนกิจกรรมการบริการที่ผู้รับบริการต้องการให้เพิ่มเติมมากที่สุด คือ ระบบลงทะเบียนยื่นแบบเสนอโครงการฯ ผ่านช่องทางออนไลน์ และระบบการให้คำปรึกษารายบุคคลเกี่ยวกับแนวทางการปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ โดยมีสัดส่วนที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 69.0
สรุปและข้อเสนอแนะ: การจัดบริการของสำนักงานฯ ควรเป็นไปตามความคาดหวังของผู้รับบริการ โดยควรปรับปรุงกิจกรรมการบริการในด้านระยะเวลาที่ผู้รับบริการทราบผลการพิจารณาในแต่ละกระบวนการฯ และควรจัดบริการให้คำปรึกษารายบุคคลเกี่ยวกับการเขียนแบบเสนอโครงการและแนวทางการปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ
Purpose: To explore the expectation, perceived responsiveness, satisfaction, and additional needs of customers to services obtaining from the office of Institutional Review Board, Faculty of Nursing, Mahidol University (IRB-NS); and the relationship between the expectations, perceived responsiveness, and satisfaction of customers. Design: Descriptive correlational design. Methods: Data were collected from 71 customers who submitted the research protocols for approval from the IRB-NS since 2012-2015; using online questionnaires. Main findings: The highest expectation service was the time period of consideration (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 86.39, SD = 22.24). The highest of the perceived responsiveness service was the IRB-NS website (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 85.45, SD = 22.53). The highest satisfaction service was the recommendation about administrative process from the IRB-NS staff (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 89.32, SD = 18.91). The expectation was positively related to the perceived responsiveness and the perceived responsiveness was positively related to the satisfaction (rs = .700, .595, p < .01). The extra services that were equally needed by customers were the online submission and the personal consulting for revision followed by the committee’s comments at 69.0%. Conclusion and recommendations: The service from the IRB-NS office should be in accordance with the customers’ expectation. The service for the time period of consideration should be improved. The IRB-NS office should arrange the extra services for revising the protocol until finished.
Purpose: To explore the expectation, perceived responsiveness, satisfaction, and additional needs of customers to services obtaining from the office of Institutional Review Board, Faculty of Nursing, Mahidol University (IRB-NS); and the relationship between the expectations, perceived responsiveness, and satisfaction of customers. Design: Descriptive correlational design. Methods: Data were collected from 71 customers who submitted the research protocols for approval from the IRB-NS since 2012-2015; using online questionnaires. Main findings: The highest expectation service was the time period of consideration (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 86.39, SD = 22.24). The highest of the perceived responsiveness service was the IRB-NS website (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 85.45, SD = 22.53). The highest satisfaction service was the recommendation about administrative process from the IRB-NS staff (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 89.32, SD = 18.91). The expectation was positively related to the perceived responsiveness and the perceived responsiveness was positively related to the satisfaction (rs = .700, .595, p < .01). The extra services that were equally needed by customers were the online submission and the personal consulting for revision followed by the committee’s comments at 69.0%. Conclusion and recommendations: The service from the IRB-NS office should be in accordance with the customers’ expectation. The service for the time period of consideration should be improved. The IRB-NS office should arrange the extra services for revising the protocol until finished.