Publication: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์ในการนํามาใช้ของระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกายของประเทศไทย
Issued Date
2564
Resource Type
Language
tha
ISSN
2697-6285 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารกฎหมายสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 7, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 411-428
Suggested Citation
พัชราภรณ์ นนทสวัสดิ์ศรี, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, ณัฐนารี เอมยงค์, Patcharaphon Nonthasawadsri, Chardsumon Pritpinyo, Natnaree Aimyong ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์ในการนํามาใช้ของระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกายของประเทศไทย. วารสารกฎหมายสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 7, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 411-428. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64812
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์ในการนํามาใช้ของระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกายของประเทศไทย
Alternative Title(s)
Factors affecting surgeon’s demand feasibility in the implementation of Thailand’s medical device registry of breast implant patients
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยเชิงพรรณาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับของความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์ในการนํามาใช้ของระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกาย และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์ในการนํามาใช้ของระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกายของประเทศไทยโดยการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างศัลยแพทย์ในสมาคมศัลยแพทย์ตกแต่งแห่งประเทศไทย จํานวน 160 คน ส่งแบบสอบถามออนไลน์ ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินโดยตนเอง ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป การประเมินความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์การยอมรับ ความครอบคลุม ความพร้อม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สถิติพื้นฐานที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Logistic regression มีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ศัลยแพทย์ประเมินการยอมรับระดับสูง (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย 93.19) ความครอบคลุม ระดับต่ำ (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย 44.00) ความพร้อมระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 37.50, S.D.0.51) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 18.86, S.D.0.60) การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 18.81, S.D.0.52). ผลการวิเคราะห์ Logistic Regression พบว่า ปัจจัยการยอมรับ ความครอบคลุม ความพร้อม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นไปได้ด้านความต้องการของศัลยแพทย์ในการนํามาใช้ของระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกายของประเทศไทยได้ ร้อยละ 83.7 ผู้กําหนดนโยบายสามารถใช้ผลการศึกษาวิจัยเพื่อยกระดับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือแพทย์เต้านมเทียมซิลิโคนใช้ฝังในร่างกายของประเทศไทยและสามารถศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับนโยบายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
This cross-sectional descriptive study investigates the demand feasibility of surgeons in the implementation of Thailand’s medical device registry and studies the factors affecting surgeon’s demand feasibility in the implementation of Thailand’s medical device registry of breast implant patients. There were 160 sample surgeons and data gathered by Google Form Self-Reported Questionnaires. The Questionnaires were divided into 7 parts. Data were analyzed using descriptive statistics, percentages, mean, and standard deviations. Logistic regression was used for hypothesis testing at 0.05.Results showed that the factors acceptability were at a high level (percentage of mean 93.19), adequacy was at a low level (percentage of mean 44%), practi c e was at a high level (mean 37.50, S.D.0.51), motivation was at a high level (mean 18.86, S.D.0.60) , and privacy was at a high level (mean 18.81, S.D.0.52). Logistic regression showed that acceptability, adequacy, practice, motivation, and privacy were statistically significant factors predicting surgeon’s demand feasibility at 83.7%. Policymakers could utilize the factors in this study to enhance the safety of medical device policy. As a pilot study to pursue the implementation of a breast implant patient registry in different stakeholders, this could be used to enhance consumer protection.
This cross-sectional descriptive study investigates the demand feasibility of surgeons in the implementation of Thailand’s medical device registry and studies the factors affecting surgeon’s demand feasibility in the implementation of Thailand’s medical device registry of breast implant patients. There were 160 sample surgeons and data gathered by Google Form Self-Reported Questionnaires. The Questionnaires were divided into 7 parts. Data were analyzed using descriptive statistics, percentages, mean, and standard deviations. Logistic regression was used for hypothesis testing at 0.05.Results showed that the factors acceptability were at a high level (percentage of mean 93.19), adequacy was at a low level (percentage of mean 44%), practi c e was at a high level (mean 37.50, S.D.0.51), motivation was at a high level (mean 18.86, S.D.0.60) , and privacy was at a high level (mean 18.81, S.D.0.52). Logistic regression showed that acceptability, adequacy, practice, motivation, and privacy were statistically significant factors predicting surgeon’s demand feasibility at 83.7%. Policymakers could utilize the factors in this study to enhance the safety of medical device policy. As a pilot study to pursue the implementation of a breast implant patient registry in different stakeholders, this could be used to enhance consumer protection.