Publication: The Association between Processed Meat Intake and the Prevalence of Type 2 Diabetes in Thais: a Cross-Sectional Study from the Electricity Generating Authority of Thailand
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University,
Cardiovascular and Metabolic Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Medical and Health Division Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT)
Chakri Naruebodindra Medical Institute Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Cardiovascular and Metabolic Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Medical and Health Division Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT)
Chakri Naruebodindra Medical Institute Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 3 (Jul-Sep 2017), 1-10
Suggested Citation
Thananya Ruengurairoek, Prin Vathesatogkit, Hathaichon Boonhat, Daruneewan Warodomwichit, Nisakorn Thongmuang, Dujrudee Matchariyakul, Piyamitr Sritara, Kulapong Jayanama, ธนัญญา เรืองอุไรฤกษ์, ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ, หทัยชนน์ บุญหัตถ์, นิสากร ทองมั่ง, ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร, ดุจฤดี มัจฉริยกุล, ปิยะมิตร ศรีธรา, กุลพงษ์ ชัยนาม The Association between Processed Meat Intake and the Prevalence of Type 2 Diabetes in Thais: a Cross-Sectional Study from the Electricity Generating Authority of Thailand. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 3 (Jul-Sep 2017), 1-10. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79581
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The Association between Processed Meat Intake and the Prevalence of Type 2 Diabetes in Thais: a Cross-Sectional Study from the Electricity Generating Authority of Thailand
Alternative Title(s)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปและความชุกของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในการศึกษาของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
Author(s)
Thananya Ruengurairoek
Prin Vathesatogkit
Hathaichon Boonhat
Daruneewan Warodomwichit
Nisakorn Thongmuang
Dujrudee Matchariyakul
Piyamitr Sritara
Kulapong Jayanama
ธนัญญา เรืองอุไรฤกษ์
ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ
หทัยชนน์ บุญหัตถ์
นิสากร ทองมั่ง
ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร
ดุจฤดี มัจฉริยกุล
ปิยะมิตร ศรีธรา
กุลพงษ์ ชัยนาม
Prin Vathesatogkit
Hathaichon Boonhat
Daruneewan Warodomwichit
Nisakorn Thongmuang
Dujrudee Matchariyakul
Piyamitr Sritara
Kulapong Jayanama
ธนัญญา เรืองอุไรฤกษ์
ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ
หทัยชนน์ บุญหัตถ์
นิสากร ทองมั่ง
ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร
ดุจฤดี มัจฉริยกุล
ปิยะมิตร ศรีธรา
กุลพงษ์ ชัยนาม
Other Contributor(s)
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Medicine
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Cardiovascular and Metabolic Center
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Research Center
Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT). Medical and Health Division
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Chakri Naruebodindra Medical Institute
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Cardiovascular and Metabolic Center
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Research Center
Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT). Medical and Health Division
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Chakri Naruebodindra Medical Institute
Abstract
Background: Type 2 diabetes (T2D) is a major health problem worldwide of which the complications are crushing burden. Previous studies reveal that consumption of processed meat is associated with higher incidence of T2D. However, the data outcomes are varied and the pathogenesis is still inconclusive.
Objective: This study aims to assess the association between processed meat consumption and T2D, and to investigate the influence of health-related factors and processed meat consumption and T2D.
Methods: A cross-sectional study was conducted in 2,017 subjects from population-based cohort study: the Electricity Generating Authority of Thailand study (EGAT) in 2013. Univariate and multivariate analysis were performed by logistic regression to reveal the association between processed meat intake and T2D and to adjust the potential confounders. The interaction terms were tested among these factors and T2D.
Results: The amount of processed meat consumption had a negative trend on T2D (P for trend = 0.03). The associations with T2D were also found in male (OR = 2.07; P < 0.001), high waist circumference (WC) (OR = 2.58; P < 0.001), undergraduated level (OR = 1.40; P = 0.01) and low serum non-HDL cholesterol (OR = 2.99; P < 0.001).
Conclusions: The higher processed meat intake has trend to increase a prevalence of T2D in all groups of BMI, WC, education level, serum cholesterol levels, smoking status and alcohol intake. Further long-term cohort study is warranted to confirm this finding.
บทนำ: โรคเบาหวานชนิดที่สองเป็นปัญหาสำคัญของระบบสุขภาพทั่วโลก โดยที่ภาวะแทรกซ้อนของโรคดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบที่รุนแรง จากการศึกษาที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปมีผลต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สอง อย่างไรก็ตาม ผลของการศึกษาและกลไกของการเกิดโรคยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัด วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สองและหาปัจจัยทางสุขภาพอื่นๆ ที่มีส่งผลต่อการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สอง วิธีการศึกษา: รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาแบบตัดขวาง โดยนำกลุ่มตัวอย่างมาจากการศึกษาติดตามของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทั้งหมด 2,017 รายในปี พ.ศ. 2556 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้เป็นการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกทั้งแบบตัวแปรเดี่ยวและรวมหลายตัวแปร โดยมีการควบคุมตัวแปรกวนเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สอง และปฏิสัมพันธ์ของปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา: การบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปมีแนวโน้มที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวานชนิดที่สองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P for trend = 0.03) และพบตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเบาหวานคือ เพศชาย (Odd ratio (OR) = 2.07; P < 0.001) ขนาดเส้นรอบเอวที่สูง (OR = 2.58; P < 0.001) ระดับการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี (OR = 1.40; P = 0.017) และระดับไขมันชนิดไม่ดีต่ำ (OR = 2.99; P < 0.001) สรุป: การบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปมีแนวโน้มที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวานชนิดที่สองในทุกกลุ่มดัชนีมวลกาย ขนาดเส้นรอบเอว ระดับการศึกษา ระดับคอเลสเตอรอลในซีรั่ม การสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา อย่างไรก็ตาม เพื่อยืนยันความสัมพันธ์นี้จะต้องทำการศึกษาเพิ่มเติมในรูปแบบ cohort ระยะยาวต่อไป
บทนำ: โรคเบาหวานชนิดที่สองเป็นปัญหาสำคัญของระบบสุขภาพทั่วโลก โดยที่ภาวะแทรกซ้อนของโรคดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบที่รุนแรง จากการศึกษาที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปมีผลต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สอง อย่างไรก็ตาม ผลของการศึกษาและกลไกของการเกิดโรคยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัด วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สองและหาปัจจัยทางสุขภาพอื่นๆ ที่มีส่งผลต่อการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สอง วิธีการศึกษา: รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาแบบตัดขวาง โดยนำกลุ่มตัวอย่างมาจากการศึกษาติดตามของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทั้งหมด 2,017 รายในปี พ.ศ. 2556 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้เป็นการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกทั้งแบบตัวแปรเดี่ยวและรวมหลายตัวแปร โดยมีการควบคุมตัวแปรกวนเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่สอง และปฏิสัมพันธ์ของปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา: การบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปมีแนวโน้มที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวานชนิดที่สองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P for trend = 0.03) และพบตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเบาหวานคือ เพศชาย (Odd ratio (OR) = 2.07; P < 0.001) ขนาดเส้นรอบเอวที่สูง (OR = 2.58; P < 0.001) ระดับการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี (OR = 1.40; P = 0.017) และระดับไขมันชนิดไม่ดีต่ำ (OR = 2.99; P < 0.001) สรุป: การบริโภคเนื้อสัตว์แปรรูปมีแนวโน้มที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวานชนิดที่สองในทุกกลุ่มดัชนีมวลกาย ขนาดเส้นรอบเอว ระดับการศึกษา ระดับคอเลสเตอรอลในซีรั่ม การสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา อย่างไรก็ตาม เพื่อยืนยันความสัมพันธ์นี้จะต้องทำการศึกษาเพิ่มเติมในรูปแบบ cohort ระยะยาวต่อไป