Publication: Prevalence, Associated Factors, and Impact on Quality of Life of Female Urinary Incontinence in a Thai Rural Area
Issued Date
2013
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Biostatistics Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Biostatistics Faculty of Public Health Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 36, No. 4 (Oct-Dec 2013), 269-275
Suggested Citation
Benjamat Khuawan, Jittima Manonai, Somsak Suthutvoravut, Vajira Singhakajen, เบญจมาศ เคลือวัลย์, จิตติมา มโนนัย, สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ, วชิระ สิงหะคเชนทร์ Prevalence, Associated Factors, and Impact on Quality of Life of Female Urinary Incontinence in a Thai Rural Area. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 36, No. 4 (Oct-Dec 2013), 269-275. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79744
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Prevalence, Associated Factors, and Impact on Quality of Life of Female Urinary Incontinence in a Thai Rural Area
Alternative Title(s)
ความชุก และผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในสตรีในชนบทไทย
Abstract
Objective: To assess the prevalence of urinary incontinence (UI), its associated factors, and its impact on the quality of life (QOL) of women.
Methods: This cross-sectional study was conducted by interviewing 385 women who lived in a Thai rural area in Wangsila Village, Wangnamyen District, Srakaew Province. The questions comprises of demographic data, history of childbirth and medical diseases. Urinary incontinence symptoms within 1 month prior to the interview were asked using simple question. Quality of life was assessed using the Incontinence Quality of Life queationnaire.
Results: Seventy-eight women (20.3%) had urinary incontinence. Among them, 5 (1.3%) had stress urinary incontinence, 14 (3.6%) had urge incontinence and 59 (15.3%) had both types. The significant associated factor was parity with age as a confounder. The impact on QOL as assessed by I-QOL questionnaires was that all of the following three domains were affected: limiting activities, the psychological aspect, and social embarrassment. From a 100 percent score of quality of life, UI decreased the score of three domains of QOL: limiting activities, the psychological aspect, and social embarrassment (93.3%, 92.0%, and 86.8%, respectively)
Conclusions: The prevalence of UI among Thai woman in the rural area was 20.3%. Most had both stress and urge incontinence. The significant associated factor was parity with age as a confouder. UI had a negative impact on three domains of QOL of Thai women in the rural area.
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความชุกของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของสตรี วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้สัมภาษณ์สตรีจำนวน 385 คน ในชนบทไทยที่หมู่บ้านวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยคำถามประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ประวัติการคลอดบุตรและโรคทางอายุรกรรม ถามคำถามที่เข้าใจง่ายเกี่ยวกับอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดขึ้นภายในเวลาหนึ่งเดือนก่อนหน้านี้ และประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา: พบสตรีที่มีภาวะปัสสาวะเล็ด จำนวน 78 คน (ร้อยละ 20.3) เป็นชนิดปัสสาวะเล็ดเมื่อเบ่ง จำนวน 5 คน (ร้อยละ 1.3) ชนิด ปัสสาวะเล็ดเมื่อปวด จำนวน 14 คน (ร้อยละ 3.6) และแบบทั้งสองชนิดร่วมกัน จำนวน 59 คน (ร้อยละ 15.3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญคือ การคลอดบุตร โดยมีอายุเป็นตัวแปรกวน เมื่อประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบสอบถาม I-QOL ซึ่งประเมินคุณภาพชีวิตเป็นคะแนนใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านถูกจำกัดกิจกรรม ด้านจิตใจ และด้านความอับอายทางสังคมพบว่า จากคะแนน 100 คะแนน ภาวะปัสสาวะเล็ดมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในสตรีในชนบท ในด้านถูกจำกัดกิจกรรม ด้านจิตใจ และด้านความอับอายทางสังคมลดลง ได้คะแนนร้อยละ 93.3, 92.0 และ 86.8 ตามลำดับ สรุป: ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในสตรีไทยในชนบทพบร้อยละ 20.3 ส่วนใหญ่เป็นแบบผสมระหว่างปัสสาวะเล็ดเมื่อเบ่งและเมื่อปวดร่วมกัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ การคลอด ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่มีผลกระทบในด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของสตรีไทยในชนบท
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความชุกของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของสตรี วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้สัมภาษณ์สตรีจำนวน 385 คน ในชนบทไทยที่หมู่บ้านวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยคำถามประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ประวัติการคลอดบุตรและโรคทางอายุรกรรม ถามคำถามที่เข้าใจง่ายเกี่ยวกับอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดขึ้นภายในเวลาหนึ่งเดือนก่อนหน้านี้ และประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา: พบสตรีที่มีภาวะปัสสาวะเล็ด จำนวน 78 คน (ร้อยละ 20.3) เป็นชนิดปัสสาวะเล็ดเมื่อเบ่ง จำนวน 5 คน (ร้อยละ 1.3) ชนิด ปัสสาวะเล็ดเมื่อปวด จำนวน 14 คน (ร้อยละ 3.6) และแบบทั้งสองชนิดร่วมกัน จำนวน 59 คน (ร้อยละ 15.3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญคือ การคลอดบุตร โดยมีอายุเป็นตัวแปรกวน เมื่อประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบสอบถาม I-QOL ซึ่งประเมินคุณภาพชีวิตเป็นคะแนนใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านถูกจำกัดกิจกรรม ด้านจิตใจ และด้านความอับอายทางสังคมพบว่า จากคะแนน 100 คะแนน ภาวะปัสสาวะเล็ดมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในสตรีในชนบท ในด้านถูกจำกัดกิจกรรม ด้านจิตใจ และด้านความอับอายทางสังคมลดลง ได้คะแนนร้อยละ 93.3, 92.0 และ 86.8 ตามลำดับ สรุป: ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในสตรีไทยในชนบทพบร้อยละ 20.3 ส่วนใหญ่เป็นแบบผสมระหว่างปัสสาวะเล็ดเมื่อเบ่งและเมื่อปวดร่วมกัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ การคลอด ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่มีผลกระทบในด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของสตรีไทยในชนบท