Publication: Prevalence, Associated Factors, and Impact on Quality of Life of Female Urinary Incontinence in a Thai Rural Area
dc.contributor.author | Benjamat Khuawan | en_US |
dc.contributor.author | Jittima Manonai | en_US |
dc.contributor.author | Somsak Suthutvoravut | en_US |
dc.contributor.author | Vajira Singhakajen | en_US |
dc.contributor.author | เบญจมาศ เคลือวัลย์ | en_US |
dc.contributor.author | จิตติมา มโนนัย | en_US |
dc.contributor.author | สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ | en_US |
dc.contributor.author | วชิระ สิงหะคเชนทร์ | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecology | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Biostatistics | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T04:25:54Z | |
dc.date.available | 2022-09-30T04:25:54Z | |
dc.date.created | 2022-09-30 | |
dc.date.issued | 2013 | |
dc.description.abstract | Objective: To assess the prevalence of urinary incontinence (UI), its associated factors, and its impact on the quality of life (QOL) of women. Methods: This cross-sectional study was conducted by interviewing 385 women who lived in a Thai rural area in Wangsila Village, Wangnamyen District, Srakaew Province. The questions comprises of demographic data, history of childbirth and medical diseases. Urinary incontinence symptoms within 1 month prior to the interview were asked using simple question. Quality of life was assessed using the Incontinence Quality of Life queationnaire. Results: Seventy-eight women (20.3%) had urinary incontinence. Among them, 5 (1.3%) had stress urinary incontinence, 14 (3.6%) had urge incontinence and 59 (15.3%) had both types. The significant associated factor was parity with age as a confounder. The impact on QOL as assessed by I-QOL questionnaires was that all of the following three domains were affected: limiting activities, the psychological aspect, and social embarrassment. From a 100 percent score of quality of life, UI decreased the score of three domains of QOL: limiting activities, the psychological aspect, and social embarrassment (93.3%, 92.0%, and 86.8%, respectively) Conclusions: The prevalence of UI among Thai woman in the rural area was 20.3%. Most had both stress and urge incontinence. The significant associated factor was parity with age as a confouder. UI had a negative impact on three domains of QOL of Thai women in the rural area. | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความชุกของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของสตรี วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้สัมภาษณ์สตรีจำนวน 385 คน ในชนบทไทยที่หมู่บ้านวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยคำถามประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ประวัติการคลอดบุตรและโรคทางอายุรกรรม ถามคำถามที่เข้าใจง่ายเกี่ยวกับอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดขึ้นภายในเวลาหนึ่งเดือนก่อนหน้านี้ และประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา: พบสตรีที่มีภาวะปัสสาวะเล็ด จำนวน 78 คน (ร้อยละ 20.3) เป็นชนิดปัสสาวะเล็ดเมื่อเบ่ง จำนวน 5 คน (ร้อยละ 1.3) ชนิด ปัสสาวะเล็ดเมื่อปวด จำนวน 14 คน (ร้อยละ 3.6) และแบบทั้งสองชนิดร่วมกัน จำนวน 59 คน (ร้อยละ 15.3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญคือ การคลอดบุตร โดยมีอายุเป็นตัวแปรกวน เมื่อประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบสอบถาม I-QOL ซึ่งประเมินคุณภาพชีวิตเป็นคะแนนใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านถูกจำกัดกิจกรรม ด้านจิตใจ และด้านความอับอายทางสังคมพบว่า จากคะแนน 100 คะแนน ภาวะปัสสาวะเล็ดมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในสตรีในชนบท ในด้านถูกจำกัดกิจกรรม ด้านจิตใจ และด้านความอับอายทางสังคมลดลง ได้คะแนนร้อยละ 93.3, 92.0 และ 86.8 ตามลำดับ สรุป: ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในสตรีไทยในชนบทพบร้อยละ 20.3 ส่วนใหญ่เป็นแบบผสมระหว่างปัสสาวะเล็ดเมื่อเบ่งและเมื่อปวดร่วมกัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ การคลอด ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่มีผลกระทบในด้านลบต่อคุณภาพชีวิตของสตรีไทยในชนบท | en_US |
dc.identifier.citation | Ramathibodi Medical Journal. Vol. 36, No. 4 (Oct-Dec 2013), 269-275 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79744 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Biostatistics Faculty of Public Health Mahidol University | en_US |
dc.subject | Urinary incontinence | en_US |
dc.subject | Prevalence | en_US |
dc.subject | Associated factors | en_US |
dc.subject | Quality of life | en_US |
dc.subject | กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ | en_US |
dc.subject | ความชุก | en_US |
dc.subject | ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง | en_US |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | en_US |
dc.title | Prevalence, Associated Factors, and Impact on Quality of Life of Female Urinary Incontinence in a Thai Rural Area | en_US |
dc.title.alternative | ความชุก และผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในสตรีในชนบทไทย | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/117647/90279 |